จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
กิจกรรมนันทนาการ.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
ทักษะการคิดวิเคราะห์
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
บทบาทสมมติ (Role Playing)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ความหมายของการวิจารณ์
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ADDIE Model.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ประเภทของพฤติกรรม 1.เกณฑ์ “สังเกต” พฤติกรรมภายนอก (OVERT BEHAVIOR)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา บทที่ 2 จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา

2.1 ระดับของจุดมุ่งหมาย 1) จุดมุ่งหมายทั่วไป/นโยบายจัดการ ศึกษาของชาติ 1) จุดมุ่งหมายทั่วไป/นโยบายจัดการ ศึกษาของชาติ 2) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3) จุดมุ่งหมายเฉพาะรายวิชา/กลุ่มสาระ 4) จุดมุ่งหมายการเรียนการสอน

2.2 ประเภทของพฤติกรรม 1) พฤติกรรมแฝง เช่น - ความรู้ ความเข้าใจ 1) พฤติกรรมแฝง เช่น - ความรู้ ความเข้าใจ - ทัศนคติ - การสังเคราะห์ 2) พฤติกรรมที่สังเกตได้ เช่น - บอก อธิบาย - จำแนก

2.3 จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เป็นจุดมุ่งหมายที่กำหนดขึ้นโดยบ่งถึงพฤติกรรมของผู้เรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน โดยเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมาภายนอก สามารถสังเกตได้ วัดและประเมินได้

องค์ประกอบของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม 1) พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) 2) สถานการณ์หรือเงื่อนไข (Situation or Condition) 3) เกณฑ์ (Criteria)

ประโยชน์ของมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม ช่วยในการจัดทำหลักสูตร/ปรับปรุงหลักสูตร ช่วยให้ผู้สอนกำหนดแผนการสอนได้อย่างชัดเจน ช่วยให้ผู้เรียนทราบจุดหมายปลายทางที่ตนเองต้องทำได้ ทราบจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง ช่วยประเมินผลการสอน ช่วยในการวัดและประเมินผล

พฤติกรรมที่คาดหวัง พฤติกรรมที่ต้องการวัดคืออะไร มีลักษณะอย่างไร วัดโดยวิธีใด และใช้เครื่องมืออะไร สถานการณ์ การวัดพฤติกรรมเหล่านี้ต้องเตรียมอุปกรณ์อะไร ดำเนินการวัดอย่างไร เกณฑ์ ตัดสินว่าผู้เรียนเกิดพฤติกรมที่คาดหวังตาม จุดมุ่งหมายหรือไม่

2.4 ประเภทของพฤติกรรมการศึกษา Bloom(1956) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 2.4.1 ด้านพุทธิพิสัย/ด้านสมอง (Cognitive Domain) 2.4.2 ด้านจิตพิสัย/ ด้านความรู้สึก (Affective Domain) 2.4.3 ด้านทักษะพิสัย / ด้านการปฏิบัติ (Psychomotor Domain)

ด้านพุทธิพิสัย/ด้านสมอง ความรู้ความจำ(Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนำไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) ประเมินค่า (Evaluation)

ด้านจิตพิสัย/ด้านความรู้สึก ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ แบ่งเป็น 5 ระดับ การรับรู้หรือการใส่ใจต่อสิ่งเร้า การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบค่านิยม การแสดงลักษณะตามค่านิยม

ด้านทักษะพิสัย/ด้านการปฏิบัติ ความสามารถในการปฏิบัติ การใช้กล้ามเนื้อ การประสานงานของอวัยวะต่างๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย การเคลื่อนไหวที่ใช้อวัยวะหลายส่วนประกอบกัน พฤติกรรมการสื่อความหมายโดยใช้ท่าทาง พฤติกรรมการพูด