วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
โครงการตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส. โครงการ ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มโครงการพิเศษ ส.ส.ส. กรมปศุสัตว์ กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ 1. โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร 2. โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน 3. โครงการคัดเลือกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรดีเด่น แห่งชาติ วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.

แนวทางการทำงาน กำหนดชนิดปศุสัตว์เป้าหมายของจังหวัด - สอดคล้องกับยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ - สอดคล้องกับกับการจัด Zoning กำหนดเป้าหมายการทำงานชัดเจน เป้าหมาย 1. เกษตรกร (ต้องสังกัดกลุ่มเกษตรกร) 2. กลุ่มเกษตรกร (ต้องขึ้นทะเบียน) 3. ศูนย์เรียนรู้ (ต้องขึ้นทะเบียน) 4. เครือข่ายเกษตรกร (ชมรมจังหวัด/เครือข่ายเขต) - สอดคล้องกับชนิดปศุสัตว์เป้าหมาย

แนวทางการทำงาน (ต่อ) กรอบการทำงาน - ผ่านศูนย์เรียนรู้ 1. พัฒนาความรู้เกษตรกร - ผ่านศูนย์เรียนรู้ - ผ่านกระบวนการกลุ่ม - ผ่านหน่วยงานเทคนิค 2. สร้างความเข้มแข็งกลุ่มและเครือข่ายเกษตรกร 3. ติดตามแก้ไขปัญหาพัฒนาการเลี้ยงแบบมีส่วนร่วม 4. พัฒนาธุรกิจเครือข่าย (เชื่อมโยงการผลิต-ตลาด)

กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการปศุสัตว์ โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกร เป้าหมาย 73 จังหวัด/7 ศวป./9 เขต 230 ศูนย์เรียนรู้ตัวชี้วัด - ศูนย์เรียนรู้พอเพียง 100 ศูนย์ - ศูนย์เรียนรู้เฉพาะทาง 130 ศูนย์ เกษตรกร 8,800 ราย - เกษตรกรกลุ่มยุทธศาสตร์ 8,000 ราย - เกษตรกรเครือข่ายปศุสัตว์ 800 ราย

การดำเนินการ คัดเลือกศูนย์ พัฒนาความพร้อมศูนย์เพื่อการฝึกอบรม 1. เตรียมความพร้อมศูนย์เรียนรู้ตามตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) คัดเลือกศูนย์ ศูนย์พอเพียง : คัดเลือกจากศูนย์เดิมที่ผ่านการประเมินโดย ปศข. ศูนย์เฉพาะทาง : คัดเลือกจากเกษตรกรดีเด่นโดยต้องสัมพันธ์กับ ชนิดปศุสัตว์และกลุ่มเกษตรกรยุทธศาสตร์ ส่งรายชื่อ/ข้อมูลให้ เขต พัฒนาความพร้อมศูนย์เพื่อการฝึกอบรม -องค์ความรู้/หลักสูตร/กิจกรรมฟาร์ม/วิทยากร พัฒนาคุณภาพศูนย์ตามตัวชี้วัดการประเมิน - ความพร้อมเจ้าของศูนย์ มี 4 ประเด็นย่อย - องค์ประกอบและกิจกรรมในศูนย์ มี 6 ประเด็นย่อย - ความสำเร็จของศูนย์ มี 10 ประเด็นย่อย

การดำเนินการ (ต่อ) 2. ฝึกอบรมเกษตรกรผ่านศูนย์เรียนรู้ตัวชี้วัด ศูนย์พอเพียง - เน้นเกษตรกรที่ทำการเกษตรแบบผสมผสานข้างเคียง - อบรมเกษตรกรรายใหม่ 28 รายต่อศูนย์ - อบรมที่ศูนย์ ระยะเวลาอบรมไม่เกิน 3 วัน - หลักสูตร เน้นหลักคิดการทำเกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและความรู้การเลี้ยงสัตว์ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์เฉพาะทาง - เน้นเกษตรกรกลุ่มเลี้ยงสัตว์ยุทธศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียน - อบรมเกษตรกรผ่านศูนย์ 40 รายต่อศูนย์ - อบรมที่ศูนย์ระยะเวลาอบรมไม่เกิน 3 วัน - หลักสูตรเน้นความรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลศูนย์ตัวชี้วัดให้เขต

การดำเนินการ (ต่อ) 3. ฝึกอบรมเกษตรกรเครือข่าย (ศวป.) วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของกลุ่มเครือข่าย กำหนดหลักสูตรการอบรม เน้นแก้ไขปัญหาพัฒนาเครือข่าย ไม่เกิน 3 วัน เน้นตัวแทนกลุ่ม/อาสา/มี ปัญหา ไม่เกิน 20 คน/ หลักสูตร เสนอหลักสูตรของความเห็นชอบจาก ส.ส.ส. ประสานเครือข่าย/จังหวัด คัดเลือกเกษตรกร ดำเนินการฝึกอบรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ประสานจังหวัด/เครือข่ายรับสมัครเกษตรกร การดำเนินการ (ต่อ) 4. ฝึกอบรมเกษตรกรมืออาชีพ (สนง.ปศข.) คัดเลือกจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะจากศูนย์เรียนรู้ดีเด่น กำหนดหลักสูตรการอบรม เน้น สร้างมืออาชีพเฉพาะ ชนิดปศุสัตว์เครือข่าย เกษตรกรที่สมัครในหลักสูตรไม่เกิน 5 วัน ประสานจังหวัด/เครือข่ายรับสมัครเกษตรกร เน้น เกษตรกรสมาชิกเครือข่ายที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ดำเนินการอบรมร่วมกับเกษตรกรเจ้าของศูนย์ บ่มเพาะ

การดำเนินการ (ต่อ) 5. จัดทำสื่อความรู้ (ศวป.) รวบรวมองค์ความรู้การเลี้ยงสัตว์ตามชนิดเครือข่าย คัดเลือก/จัดกระบวนความรู้/จัดทำต้นฉบับสื่อ จัดทำสื่อ 2 ประเภท (สื่อสิ่งพิมพ์/สื่อนิทรรศการ) เผยแพร่/สนับสนุนสื่อแก่หน่วยงานต่างๆ 6. สนับสนุนวิทยากรฝึกอบรมเกษตรกร สปก. จะแจ้งและโอนงบประมาณให้เมื่อมีความชัดเจน 7. ติดตามประเมินตามตัวชี้วัด (สนง.ปศข.) ศูนย์เรียนรู้ (ตามเป้าหมาย) กลุ่มเกษตรกร (1 อำเภอ 1 กลุ่ม)

โครงการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน เป้าหมาย 73 จังหวัด/7 ศวป./7 เขต เกษตรกร 837 กลุ่มตัวชี้วัด/7,900 ราย กลุ่มเกษตรกรเครือข่าย 3 ชนิดปศุสัตว์/ 337 กลุ่ม/51 ชมรมจังหวัด/9 เครือข่ายเขต) - แพะ 36 จังหวัด/271 กลุ่ม/36 ชมรม/5 เครือข่าย - ไก่งวง 11 จังหวัด/29 กลุ่ม/11 ชมรม/1 เครือข่าย - หมูหลุม 19 จังหวัด/37 กลุ่ม/4 ชมรม/4 เครือข่าย

พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) การดำเนินการ พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตัวชี้วัด (สนง.ปศจ.) คัดเลือกเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ พบปะจัดกิจกรรมกลุ่มอย่างน้อย กลุ่มละ 5 ครั้ง ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรสมาชิกกลุ่ม (ตามเป้า) จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาช่วยตัวเอง ตรวจสอบ/พัฒนากลุ่มตามตัวชี้วัดการประเมิน บันทึกและตรวจสอบสมุดบันทึกประจำกลุ่ม ส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลกลุ่มตัวชี้วัดให้เขต

2. พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ การดำเนินการ (ต่อ) 2. พัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เฉพาะเครือข่ายหมูหลุม/แพะ/ไก่งวง พัฒนากลุ่มเกษตรกรเครือข่าย (จังหวัด) พบปะจัดกิจกรรมกลุ่มอย่างน้อย 5 ครั้ง พัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรตามตัวชี้วัด เน้นการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง บันทึกและตรวจสอบสมุดบันทึกประจำกลุ่ม พัฒนาชมรมจังหวัด (จังหวัด/ศวป./เขต) สร้างเวทีพบปะสมาชิกอย่างต่ำ 2 ครั้ง(ประชุมสามัญ) สร้างแผนพัฒนาระดับชมรมจังหวัด พัฒนาศักยภาพชมรมจังหวัดตามตัวชี้วัด

พัฒนาเครือข่ายระดับเขต (ศวป./สนง.ปศข.) การดำเนินการ (ต่อ) พัฒนาเครือข่ายระดับเขต (ศวป./สนง.ปศข.) จัดเวทีพบปะเครือข่ายกับหน่วยงานรัฐ อย่างน้อย 4 ครั้ง - ทำแผนปฏิบัติงานประจำปี (สนง.ปศข.)(1 ครั้ง) - ทำแผนพัฒนาเครือข่าย/แผนธุรกิจ - รับฟังปัญหา-ความต้องการ/เสนอแนวทางแก้ไข บูรณาการหน่วยงานจัดกิจกรรมสนับสนุนชมรมจังหวัด - ด้านพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ - ด้านอาหารสัตว์ - ด้านสุขภาพสัตว์ - ด้านการจัดการผลผลิตและการตลาด พัฒนาเครือข่ายเขตตามตัวชี้วัด

4. พัฒนาเครือข่ายธุรกิจ (สนง.ปศจ./ศวป.) การดำเนินการ (ต่อ) 4. พัฒนาเครือข่ายธุรกิจ (สนง.ปศจ./ศวป.) ประสานคัดเลือกเป้าหมาย วิเคราะห์ศักยภาพ/กำหนดแผนพัฒนา โอนงบประมาณเพื่อดำเนินการตามแผน - แผนพัฒนาภาคการผลิต - แผนพัฒนาภาคการตลาด 5. ติดตามประเมินเครือข่าย (สนง.ปศข.) ร่วมกำหนดตัวชี้วัดการประเมิน ติดตามประเมินเครือข่ายตามตัวชี้วัด - กลุ่มเกษตรกรเครือข่าย - ชมรมระดับจังหวัด

ตัวชี้วัด 1. ตัวชี้วัดเพื่อการประเมินปศุสัตว์จังหวัด - ตัวชี้วัดคุณภาพศูนย์เรียนรู้ (20ประเด็นย่อย) - ตัวชี้วัดความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร (26 ประเด็นย่อย) 2. ตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผลการพัฒนาเครือข่าย - ตัวชี้วัดกลุ่มเครือข่าย - ตัวชี้วัดชมรมจังหวัด - ตัวชี้วัดเครือข่ายเขต

โครงการคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 1 เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 1 กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป้าหมาย คุณสมบัติ 1. เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป็นศูนย์เรียนรู้ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์(ศูนย์ตัวชี้วัด) ประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์ อย่างน้อย 5 ปี ไม่เคยได้รับรางวัลดีเด่นแห่งชาติมาก่อน 2. กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เป็นกลุ่มที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์(กลุ่มชี้วัด/1อ.1กลุ่ม) มีอายุกลุ่มไม่น้อยกว่า 3 ปี มีข้อมูลย้อนหลังเพื่อตรวจสอบไม่น้อยกว่า 3 ปี ไม่เคยได้รับรางวัลมาก่อนหรือได้ไม่เกิน 5 ปี

การดำเนินการ 1. คัดเลือกระดับจังหวัด(บังคับทุกจังหวัดต้องส่งเข้าประกวด) ส่ง สนง.ปศข. ภายในเดือนตุลาคม 2556 2. คัดเลือกระดับเขต ส่งกรมปศุสัตว์ ภายในเดือนพฤศจิกายน 2556 3. คัดเลือกระดับชาติ (กรมฯ) ส่ง กษ. ภายในเดือนมกราคม 2557

ประเมินด้วยแบบรายงานผล ประเมินด้วยแบบรายงานและคณะกรรมการเขต ตัวชี้วัด รอบที่ 1 จำนวนเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมและนำไปใช้ ประโยชน์ (เงือนไขการฝึกอบรมต้องแล้วเสร็จเดือนธันวาคม 56) จำนวนศูนย์เรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา จำนวนศูนย์กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนา ประเมินด้วยแบบรายงานผล จำนวนแหล่ง/ศูนย์เรียนรู้ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ รอบที่ 2 จำนวนกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งตามเกณฑ์ ประเมินด้วยแบบรายงานและคณะกรรมการเขต เงื่อนไข แหล่งเรียนรู้/กลุ่มเกษตรกรต้องขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์