การสื่อสารมวลชน Mass Communication

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดต่อสื่อสาร.
Advertisements

หน้าที่ของสื่อมวลชน : Lasswell
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
การกระทำทางสังคม (Social action)
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
ระบบเศรษฐกิจ.
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
Development Communication Theory
Introduction to Communication
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
ระบบการบริหารการตลาด
Business Economics for a Better World ถอดความโดย คุณประจวบ ตรีนิกร
การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด อย่างมืออาชีพ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
วิธีการทางสุขศึกษา.
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
แบบจำลองการสื่อสาร Communication Model.
กิจกรรมนันทนาการ.
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ วิทยุโทรทัศน์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
นิเทศศาสตร์กับการเมือง และข้อเสนอสำหรับการวิจัยทางนิเทศศาสตร์
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
1 บทที่ 3 ออกแบบเพื่อผู้ใช้ Designing for Users. 2 กำหนดเป้าหมายของเว็บ วางตำแหน่งบริษัทของคุณให้เป็นผู้เชี่ยวชาญใน สาขานั้น ให้บริการข้อมูลของสินค้าหรือบริการอย่างสมบูรณ์
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทบาทของข้อมูลการตลาด
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
การผลิตรายการโทรทัศน์
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารมวลชน Mass Communication หัวข้อบรรยายที่ 11 การสื่อสารมวลชน Mass Communication

การสื่อสารมวลชน Mass Communication การสื่อสารมวลชน เป็น การส่งข่าวสารจากผู้ส่งสารซึ่งเป็นองค์กรทางการสื่อสารมวลชน ไปยังผู้รับสารซึ่งเป็นกลุ่มมวลชน รูปแบบการสื่อสารมวลชนได้แก่….. 1. วิทยุโทรทัศน์ 2. วิทยุกระจายเสียง 3. หนังสือพิมพ์ 4. นิตยสาร 5. ภาพยนตร์ 6. หนังสือ / แผ่นเสียง / เทปคาสเซท / ซีดี

หน้าที่ หรือ กิจกรรมหลักของการสื่อสารมวลชน Harold lass well กล่าวว่า สื่อมวลชนมีหน้าที่หรือกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1.Surveillance of the environment : การรายงานเหตุการณ์ในสังคม เพื่อกระตุ้นเตือนให้คนในสังคมระแวดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

หน้าที่ หรือ กิจกรรมหลักของการสื่อสารมวลชน 2. Interpretation : การตีความ 3. Correlation of the parts of society : การผสมผสานส่วนต่างๆ ในสังคมโดยการถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจจากบุคคลหลาย ๆ ฝ่าย

หน้าที่ หรือ กิจกรรมหลักของการสื่อสารมวลชน 4. Transmission of the social heritage : การถ่ายทอดมรดกทางสังคม ได้แก่ ความรู้ ความคิด ค่านิยม ศิลปะวิทยาการ ตลอดจนบทบาททางสังคม 5. Entertainment : การให้ความบันเทิง ความสนุกสนานกับผู้ชม

หน้าที่ หรือ กิจกรรมหลักของการสื่อสารมวลชน Davis MacQuil ได้เพิ่มหน้าที่สื่อมวลชนอีกประการหนึ่งคือ.. 6. Mobilization : การรณรงค์ปลุกกระแสคนในสังคมให้เกิดความร่วมมือร่วมใจกัน

องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน 1. ผู้รับสาร [Audience] : ผู้รับสารมีลักษณะเป็น “มวลชน หรือ Mass Mass เป็นกลุ่มคนจำนวนมาก [large] มีความหลากหลาย [heterogeneity ] และ ไม่รู้จักกัน [anonymous] สังคมมวลชน หรือ Mass Society จึงเป็น ลักษณะผู้รับสารซึ่งไม่รู้จักกัน ต่างคนต่างอยู่ ขาดการพี่งพากัน

พฤติกรรมการรับสารของผู้รับสาร แบ่งเป็น… 1] Saturation Exposure : บริโภคสื่อมวลชนทั้งหมด ทุกสื่อ 2] Source Selective : เลือกบริโภคข่าวสารจากสื่อใดสื่อหนึ่ง 3] Topic Selective : เลือกบริโภคข่าวสารเฉพาะเรื่องที่ตนสนในจากทุกสื่อ 4] Media Avoiders : พวกหลีกเลี่ยงการเปิดรับสื่อ

องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน 2. ผู้ส่งสาร [ Source ] : มีลักษณะเป็นองค์กรที่ซับซ้อน มีการจัดโครงสร้างที่เป็นระเบียบแบบแผนอย่างดีมีการลงทุนสูงในการผลิตข่าวสาร มีรายได้จากสปอนเซอร์

องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน 3. ข่าวสาร [ Message ] : มีลักษณะเป้นที่เข้าใจและ เป็นประโยชน์ต่อผู้รับสารในวงกว้าง ข่าวสารจากการสื่อสารมวลชนถือเป็น สาธารณะ [ Public ]

องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน 4. บริบททางสังคมของการสื่อสารมวลชน 1] Gatekeeper : ผู้กลั่นกรองข่าวสาร ทำหน้าที่คัดเลือก ควบคุมการไหลของข่าวสารไปยังผู้รับสาร ปัจจัยในการคัดเลือกข่าวสาร ได้แก่ 1. ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ผู้สนับสนุนรายได้ 2. กฎหมาย ระเบียบบังคับ และ จรรยาบรรณ 3. Deadline 4. การแข่งขันกันระหว่างสื่อ 5. Feedback

องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน 5. ผู้นำทางความคิด [ Gatekeeper ] ได้แก่ ผู้ถ่ายทอดข่าวสารจากสื่อมวลชนไปยังผู้รับสาร มีอิทธิพลต่อความคิด และ พฤติกรรมของผู้รับสาร เช่น เพื่อน พ่อแม่ ผู้นำกลุ่ม ผู้นำชุมชน เป็นต้น

องค์ประกอบของการสื่อสารมวลชน 6. การสื่อสารกลับล่าช้า [ Delayed Feedback] ได้แก่ การสื่อสารกลับของผู้รับสารไปยังผู้ส่งสารเกิดขึ้นเมื่อ กระบวนการสื่อสารมวลชนเสร็จสิ้น หรือ จบลงแล้ว

ระบบการสื่อสารมวลชน 1.soviet-communist ในประเทศคอมมิวนิสต์ หน้าที่ถ่ายทอดนโยบายพรรคและทฤษฎีคอมมิวนิสต์ 2.Libertarian ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ หน้าที่เสนอข่าวสารได้อย่างอิสระและมีเสรีภาพ 3.Social Responsibility ประเทศอเมริกา หน้าที่เสนอข่าวสารภายใต้จรรยาบรรณของสื่อ 4.Authoritarian ประเทศตะวันตก หน้าที่เสนอข่าวสารภายใต้การควบคุมจากรัฐบาล

ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 1.ทฤษฎีลูกกระสุน [the Magic Bullet Theory ] หรือ ทฤษฎีเข็มฉีดยา [The hypodermic needle theory ] อธิบายว่า……….เนื้อหาจากสื่อมวลชนมีอิทธิพลโดยตรงและทันทีต่อความคิด และ พฤติกรรมผู้รับสาร เสมือนถูกฉีดยา ผู้ส่งสาร สาร สื่อ ผู้รับสาร

ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 2. ทฤษฎีการไหลของข่าวสาร [ The Two Flow Model Communication ] อธิบายว่า….ข่าวสารจากสื่อมวลชนมิได้มีอิทธิพลต่อผู้รับสารโดยตรง ทันที และ ทั้งหมด แต่ผู้รับสารอาจได้รับอิทธิพลข่าวสาร จาก ผู้นำทางความคิด ซึ่งก่อให้เกิดการไหลของข่าวสารสองจังหวะ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ ผู้นำความคิด ผู้รับสาร OL Two-step flow model Multi-step model

ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 3. ทฤษฎีการกระจายข่าวสาร [Diffusion Theory ] อธิบายว่า ผู้รับสารจะรับสารด้วยเงื่อนไข 5 ประการ คือ 1] ข่าวสารเกี่ยวกับลักษณะของนวัตกรรม 2] ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจ 3] ลักษณะผู้รับสาร 4] ผลที่เกิดขึ้นต่อการยอมรับข่าวสาร 5] ช่องทางการสื่อสาร

ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 4. ทฤษฎีการใช้และสร้างความพึงพอใจจากสื่อ [ Uses & Gratification ]อธิบายว่า ผู้รับสารใช้สื่อมวลชนเพื่อตอบสนองความต้องการส่วนตัว ของบุคคล เช่น 1. ใช้สื่อเรียนรู้ 2. ใช้เพื่อเป็นเพื่อน 3. ใช้เพื่อทำให้ลืมเรื่องที่รบกวนจิตใจ 4. ใช้เพื่อความตื่นเต้น 5. ใช้เพื่อพักผ่อน 6. ใช้เพื่อสร้างโลกจินตนาการส่วนตัว

ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 5. ทฤษฎี Agenda-Setting & Mass Commu nication อธิบายว่า การนำเสนอข่าวสารของสื่อมีอิทธิพลที่จะบอกเราว่าเรื่องใด บุคคลใด ข่าวใดมีความสำคัญ เช่น การลงหน้า 1

ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 6. แนวคิด ParaSocial Interaction กับ สื่อมวลชน อธิบายว่า ผู้รับสารมีปฏิกิริยาต่อผู้ที่ปรากฏทางสื่อมวลชนเสมือนบุคคล นั้นเป็นญาติสนิท จนบางครั้งแยกไม่ออกระหว่างโลกความจริง กับ โลกที่ไม่เป็นจริงในสื่อ