การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง Factors Contributing to the successful Implementation of Technology Innovations by David C. Ensminger, Daniel W. Surry, Barry E. Porter and Dawn Wright
การวิเคราะห์งานวิจัย (ต่อ) University of South Alabama david@iphase การวิเคราะห์งานวิจัย (ต่อ) University of South Alabama david@iphase.org dsurry@usohthal.edu barry@iphase.org dawn@dawnwright.com International Forum of Education Technology & Science (IFETS) (2004)
ABSTRACT รายงานนี้เกี่ยวกับผลการศึกษาเรื่อง เงื่อนไขที่ทำให้การแนะนำนวัตกรรมเทคโนโลยีไปใช้ได้สะดวก และประสบผลสำเร็จ ผู้ตอบแบบสอบถาม online 179 คน กำหนดเงื่อนไขสำคัญ 8 ประการที่มีความสัมพันธ์กัน ยังอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและการทดสอบเครื่องมือ
ABSTRACT (ต่อ) การวัดค่า mean และ standard deviations จากตัวอย่างทั้งหมด โดยแบ่งตามเพศและกลุ่มอาชีพ การวิเคราะห์ปัจจัยที่ถูกนำมาใช้ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ 8 ประการ
Keywords Innovation Implementation Technology Change
Factors Contributing to the Successful Implementation of Technology Innovation โมเดล ADDIE ประกอบด้วย Analysis, Design, Development, Implementation and Evaluation
การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปเข้ารับการฝึกอบรมอาชีพพัฒนาความรู้ และทักษะด้านอาชีพ องค์การภาครัฐในระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีภารกิจหลัก ได้แก่ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาชุมชน และกรมการศึกษานอกโรงเรียน เป็นต้น จากการวิจัย การจัดการศึกษาหรือฝึกอาชีพขององค์การภาครัฐ - มีความสำเร็จในเชิงปริมาณ แต่ไม่สามารถสรุปในเชิงคุณภาพ - ขาดการประเมิน มีเพียงการติดตามผล
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินผลขององค์การภาครัฐ ฯ เพื่อตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบที่พัฒนาขึ้นโดยผู้บริหารขององค์การและผู้บริหารองค์การระดับนโยบาย เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นระหว่างตัวแปรต่าง ๆ กับประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ องค์การภาครัฐที่มีภารกิจหลักในการให้บริหารด้านการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จำนวน10 องค์การ ภารกิจที่ประเมิน ได้แก่ การฝึกอาชีพนอกระบบโรงเรียนซึ่งเน้นการฝึกอาชีพระยะสั้น สาขาช่วงอุตสาหกรรม
3. รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น 3.1 ตัวแปรต้น จำนวน 8 ตัวแปร - ระดับตัวองค์การ ได้แก่ ภาวะผู้นำองค์การ นโยบาย การบริหารองค์การ และกระบวนการบริหารองค์การ - ระดับกลุ่ม ได้แก่ ภาวะผู้นำกลุ่ม วัฒนธรรมกลุ่ม กระบวนการบริหารกลุ่ม - ระดับบุคคล ได้แก่ คุณลักษณะของบุคลากร และการปฏิบัติงานของบุคลากร
3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลองค์การ การบรรลุจุดมุ่งหมายตามภารกิจ ประสิทธิภาพ ผลการบริหารความเปลี่ยนแปลง ความพึงพอใจ
การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การฯ สรุปผลการวิจัย การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การฯ ผลการพิจารณาของผู้บริหารเพื่อกำหนดค่าน้ำหนักของตัวแปรตามทั้ง 4 ตัว โดยเฉลี่ย ดังนี้ 1.1 การบรรลุจุดมุ่งหมาย 35% 1.2 ประสิทธิภาพ 15% 1.3 ผลการบริหารความเปลี่ยนแปลง 20% 1.4 ความพึงพอใจ 30%
2. ผลการประเมินประสิทธิผลองค์การพบว่า 1. กรมอาชีวศึกษา มีประสิทธิผลองค์การในระดับน้อย มีตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ 9 ตัวชี้วัด และไม่ผ่านเกณฑ์ 6 ตัวชี้วัด 2. สำนักพัฒนาชุมชน กรุงเทพมหานคร มีประสิทธิผลองค์การในระดับปานกลาง มีตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ 7 ตัวชี้วัด และไม่ผ่านเกณฑ์ 8 ตัวชี้วัด