รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนพัฒนาบุคลากร สคร.6 ปี 2554
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) หมวด 5

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ:ระดับพื้นฐาน (Public Management Quality Award : Fundamental Level)

หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อความคล่องตัว เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของ บุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1แบบเป็นทางการ 12.2แบบไม่เป็นทางการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรมมาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน HR 3 (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานรวมถึงการแจ้งผลเพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ HR 3 HR 3 HR 2 HR 4 HR 5 HR 3

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level : FL) หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (กรมฯ ต้องบรรลุเกณฑ์ระดับพื้นฐานภายในปี 2553) รหัส แนวทางการดำเนินการ การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร HR 1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ HR 3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ HR 4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร HR 5 ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร

ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR1 ผลการวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร

ประเด็นย่อยการพิจารณา HR1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแนวทางในการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากรแต่ละกลุ่มและจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยดังกล่าว 2. มีการนำปัจจัยความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร เพื่อใช้ในการวางแผนสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร 3. มีการนำแผนสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรไปปฏิบัติจริงเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร 4. มีการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 1. มีแนวทางในการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากรแต่ละกลุ่มและจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยดังกล่าว Y กรมฯ ได้มีการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรแต่ละกลุ่มครอบคลุมทั้งข้าราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ และจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยดังกล่าว 2. มีการนำปัจจัยความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร เพื่อใช้ในการวางแผนสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร ได้นำปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรที่มีความพึงพอใจต่ำแต่มีความสำคัญมากมาดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์เสริมสร้างความผาสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร ปี 2553-2555 ผลสำรวจ ผลวิเคราะห์ แผน

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR1 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 3. มีการนำแผนสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรไปปฏิบัติจริงเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร Y จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2553 ตามแผนกลยุทธ์เสริมสร้างความผาสุก ความพึงพอใจฯ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน และถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่การปฏิบัติจริง ลงสู่ระดับสำนัก/กอง ทุกหน่วยงาน 4. มีการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร มีการสำรวจความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรกรมเมื่อได้ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์เสริมสร้างความผาสุก ความพึงพอใจฯ แล้วเพื่อประเมินผลการดำเนินการและวางแผนการพัฒนาปรับปรุงแผนกลยุทธ์ใหม่ให้เหมาะสม รายงานผล 12เดือน เผยแพร่ ถ่ายทอด รายงานผล 6 เดือน รายงานผลการดำเนินงานตามแผน แบบสำรวจความผาสุก รายงานผลสำรวจ

HR1 แผนผังแสดงการจัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความผาสุกฯ สำรวจปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับความสำคัญและกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร ติดตามประเมินผลเพื่อทบทวนและปรับปรุงการดำเนินงาน ดำเนินการ ตามแผน ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่สำนัก/กอง จัดทำแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี

สรุปผลการดำเนินการของ HR1 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N 1. มีแนวทางในการกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากรแต่ละกลุ่มและจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยดังกล่าว Y 2. มีการนำปัจจัยความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร เพื่อใช้ในการวางแผนสร้างความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร 3. มีการนำแผนสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากรไปปฏิบัติจริงเพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร 4. มีการประเมินความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร

HR2 ระบบการบริหารผล การปฏิบัติราชการ ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น HR2 หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ผู้อำนวยการ ระดับสำนัก/กอง หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ถ่ายทอดและกำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดัองค์กร (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์) กำหนดเป้าหมายงานอื่นๆ ที่มาจากงานตามภารกิจและงานมอบหมายพิเศษ (เป้าหมายอื่นๆ) ระบบการบริหารผล การปฏิบัติราชการ สมรรถนะ สมรรถนะหลัก ก.พ. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม การทำงานเป็นทีม สมรรถนะหลักของ กรมชลประทาน  การดำเนินงานเชิงรุก  ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน

ประเด็นย่อยการพิจารณา HR2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรม 2. มีแนวทางในการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น 3. มีแนวทางการจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับผลการปฏิบัติงาน

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น HR2 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 1. มีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรม Y กรมฯ ได้อนุมัติหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานราชการโดยอิงหลักการประเมินผลงานและสมรรถนะ และประกาศหลักเกณฑ์ดังกล่าวให้ทราบและถือปฏิบัติทั่วกัน ภาพรวมแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนกรประเมิน ข้าราชการ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ พนักงานราชการ

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR2 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 2. มีแนวทางในการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น Y เมื่อสิ้นรอบการประเมินผู้บังคับบัญชาต้องแจ้งผลการประเมิน ด้านผลสัมฤทธิ์ของงานและพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (จุดแข็ง จุดอ่อน สิ่งที่ควรปรับปรุง) ตามแบบแจ้งผลการประเมินให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบเป็นรายบุคคล การแจ้งผลการประเมิน ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR2 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 3. มีแนวทางการจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับผลการปฏิบัติงาน Y ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ โดยมีการเลื่อนเงินเดือนเชื่อมโยงกับผลประเมินการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้พัฒนาผลการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น หลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนเงินเดือน ข้าราชการ 1 เม.ย.53 1 ต.ค. 53 ลูกจ้างประจำ 1 เม.ย.53 1 ต.ค. 53 พนักงานราชการ 1 ต.ค. 53

HR2 แผนผังแสดงความเชื่อมโยงของระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน

สรุปผลการดำเนินการของ HR2 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N 1. มีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรม Y 2. มีแนวทางในการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น 3. มีแนวทางการจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับผลการปฏิบัติงาน

แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) กรมชลประทาน ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ HR3 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) กรมชลประทาน

ประเด็นย่อยการพิจารณา HR3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีการนำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 มาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และนำแผนไปปฏิบัติ 2. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคลประจำปี เพื่อให้สามารถบรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรต่อการพัฒนาบุคลากร

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 1. มีการนำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 มาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และนำแผนไปปฏิบัติ Y มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี โดยกำหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ 2552-2554 ที่กำหนดไว้ เผยแพร่และถ่ายทอดแผน และดำเนินการตามแผน 5 มิติ17 ปัจจัย แผน52-54 แผน53 เผยแพร่แผน ถ่ายทอดแผน

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR3 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 2. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคลประจำปี เพื่อให้สามารถบรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ Y มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามแผน และวิเคราะห์สถานภาพการบริหารงานทรัพยากรบุคคลตามกรอบมาตรฐานการดำเนินงานด้าน HR ของสำนักงาน ก.พ.ทุกปีเพื่อให้ทราบผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาตามแผน 3. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรต่อการพัฒนาบุคลากร มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรกรมด้านการพัฒนาบุคลากรในภาพรวมของกรม เพื่อนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนา ปรับปรุงแนวทางการพัฒนาบุคลากรของกรม รายงานผล 6 เดือน รายงานผล 12 เดือน แบบสำรวจความพึงพอใจต่อการพัฒนา รายงานผลสำรวจความพึงพอใจต่อการพัฒนา

HR3 ขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลกรมชลประทาน 2.สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ผู้เกี่ยวข้อง 4. กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 6. กำหนดตัวชี้วัดผลการ ปฏิบัติงานของแต่ละ เป้าประสงค์และค่าเป้าหมาย 9. ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ฯ 8. นำแผนกลยุทธ์ฯไปปฏิบัติ 7. จัดทำแผนปฏิบัติการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (7) ทบทวนร่างแผนกลยุทธ์ฯ (7) นำเสนอแผนกลยุทธ์ฯ 3. ประเมินสถานภาพด้าน HR และวิเคราะห์ความคาดหวังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5. กำหนดเป้าประสงค์เชิง กลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 1.แต่งตั้งคณะกรรมการฯ

แผนภาพแสดงระบบการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน HR3 แผนภาพแสดงระบบการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน

สรุปผลการดำเนินการของ HR3 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N 1. มีการนำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 มาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และนำแผนไปปฏิบัติ Y 2. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคลประจำปี เพื่อให้สามารถบรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรต่อการพัฒนาบุคลากร

HR4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร

ประเด็นย่อยการพิจารณา HR4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม 2. มีการนำหลักเกณฑ์ไปใช้ในการจัดฝึกอบรม 3. มีการประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร/ความคุ้มค่าของการพัฒนา

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 1. มีแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม Y มีการกำหนดหลักเกณฑ์ประกันคุณภาพและการประเมินประสิทธิผลความคุ้มค่าของการฝึกอบรมและจัดทำคู่มือการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพและการประเมินประสิทธิผลความคุ้มค่าของการฝึกอบรม 1. การหาความต้องการและความจำเป็นในการฝึกอบรม 2. การบริหารโครงการฝึกอบรม 3. การดำเนินการด้านค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 4. การประเมินผลโครงการฝึกอบรม 5. การติดตามผลโครงการฝึกอบรม

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 2. มีการนำหลักเกณฑ์ไปใช้ในการจัดฝึกอบรม Y มีการและเผยแพร่ ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินการตามคู่มือให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติในการดำเนินการจัดการฝึกอบรม การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทุกโครงการ เผยแพร่ ถ่ายทอดสำนัก/กอง ถ่ายทอด HR

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR4 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 3. มีการประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร/ความคุ้มค่าของการพัฒนา Y มีการประเมินและติดตามผลโครงการฝึกอบรมตามแผนพัฒนาบุคลากรประจำปีทุกโครงการเพื่อให้ทราบถึงการบรรลุผลสัมฤทธิ์ของโครงการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และการนำความรู้ไปใช้ และมีการติดตามผลการนำหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพไปใช้ในการฝึกอบรมตามแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวมทั้งหลักสูตรการฝึกอบรมนอกแผนพัฒนาบุคลากรประจำปีที่กรมอนุมัติให้ดำเนินการ จำนวน 23 หลักสูตรแล้ว ปรากฏว่าทุกหลักสูตรดำเนินการครบถ้วนตามหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 100 รายงานการประเมินผลและติดตามผลโครงการฝึกอบรม รายงานผลการนำเกณฑ์คุณภาพไปใช้

สรุปผลการดำเนินการของ HR4 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N 1. มีแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม Y 2. มีการนำหลักเกณฑ์ไปใช้ในการจัดฝึกอบรม 3. มีการประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร/ความคุ้มค่าของการพัฒนา

แผนการสร้างความ ก้าวหน้าของตำแหน่ง ในสายงานหลักภายใน กรมชลประทาน HR5 ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร แผนการสร้างความ ก้าวหน้าของตำแหน่ง ในสายงานหลักภายใน กรมชลประทาน

ประเด็นย่อยการพิจารณา HR5 ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร ประเด็นย่อยการพิจารณา 1. มีแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร 2. มีการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร 3. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร HR5 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 1. มีแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร Y มีการจัดทำแผนการสร้างความ ก้าวหน้าของตำแหน่งในสายงานหลัก โดยได้ทำ MOU เข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการวางแผนทางก้าวหน้าในสายอาชีพกับสำนักงาน ก.พ. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานโดยได้กำหนดตำแหน่งที่จะดำเนินการ 2 ตำแหน่ง และกรมฯ ได้กำหนดตำแหน่งเพิ่มอีก 2 ตำแหน่ง วางแผนการดำเนินการโครงการโดยกำหนดเป็นแผน 4 ปี ดำเนินการจัดทำเส้นทางความ ก้าวหน้าในปีแรก ทั้ง 4 ตำแหน่ง และเสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบ แนวทางการทำ career path ก.พ. ขั้นตอนการทำ career path แผนปี 2553 Career Path อ.ก.พ.กรมเห็นชอบ MOU แผน 4 ปี ผส.ชป. ผสญ. ผอ.คป. ผอ.คบ.

ประเด็นย่อยการพิจารณา คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ HR5 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N คำอธิบาย/หลักฐานที่แสดงผลการดำเนินการ 2. มีการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร Y มีการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของตำแหน่งในสายงานหลัก โดยจัดทำเป็นแผนระยะยาว ดำเนินการเป็นขั้นตอนในแต่ละปีเพื่อเตรียมความพร้อมของบุคลากร ก่อนนำระบบไปใช้จริงเพื่อมิให้เกิดผลกระทบที่ไม่เป็นธรรม 3. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร แบบสำรวจความคิดเห็น On line มีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินการตามแผน รวมทั้งสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรกรมที่มีต่อการกำหนดแผนการสร้างความก้าวหน้าของตำแหน่งในสายงานหลักดังกล่าว โดยการจัดการประชุมชี้แจงและรับฟังความคิดเห็น แผน 4 ปี โครงการรับฟังความคิดเห็น รายงานผล

แผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานหลัก HR5 แผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานหลัก แผนกำหนดทางก้าวหน้าของสายอาชีพสำหรับตำแหน่งในสายงานหลัก (แผนระยะยาว 4 ปี) แต่งตั้งคณะทำงานพิจารณากำหนดเส้นทางความก้าวหน้าของสายงานหลัก MOU ร่วมกับสำนักงาน ก.พ. และกำหนดหลักเกณฑ์ รูปแบบ วิธีการจัดทำเส้นทางความก้าวหน้า จัดทำร่างเส้นทางความก้าวหน้าของสายอาชีพสำหรับตำแหน่งสายงานหลัก จัดทำกรอบสั่งสมประสบการณ์และ job profile (ประกอบด้วย คุณสมบัติเบื้องต้นในการคัดสรร ผู้มีศักยภาพ หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ผลสัมฤทธิ์/ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะประจำตำแหน่ง) ดำเนินการคัดสรรผู้มีศักยภาพตามแนวทางที่กำหนด วางแผนการพัฒนาศักยภาพผู้ได้รับการคัดเลือก นำเส้นทางความก้าวหน้าของสายอาชีพไปใช้ในการสรรหา คัดเลือกและแต่งตั้งบุคลากรต่อไป

สรุปผลการดำเนินการของ HR5 ประเด็นย่อยการพิจารณา Y/N 1. มีแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร Y 2. มีการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร 3. มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนการสร้างความก้าวหน้าของบุคลากร

Q&A