อาเซียน: กศน. กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ใน ปี 2558 11 พฤษภาคม 2555 โรงแรมราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี โดย นายวิชัย อานามนารถ สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร
ขอขอบคุณ: - ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ - นางศรีวิการ์ เมฆธวัชชัยกุล - นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์)
1. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 3. กศน. กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
1. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
สถิติที่น่าสนใจ
คุณเป็นประชาชนอาเซียนมากน้อยเพียงใด คุณรู้สึกว่า คุณเป็นประชาชนอาเซียนมากน้อยเพียงใด ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1. Lao PDR 96.0% 2. Cambodia 92.7% 3. Vietnam 91.7% 4. Malaysia 86.8% 5. Brunei 82.2% 6. Indonesia 73.0% 7. Philippines 69.6% 8. Thailand 67.0% 9. Myanmar 59.5% 10.Singapore 49.3% นศ. 2,170 คน/ ข้อมูล โดย ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์
ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1. Lao PDR 96.0% 2. Cambodia 92.7% 3. Vietnam 91.7% 4. Malaysia 86.8% 5. Brunei 82.2% 6. Indonesia 73.0% 7. Philippines 69.6% 8. Thailand 67.0% 9. Myanmar 59.5% 10.Singapore 49.3% นศ. 2,170 คน/ ข้อมูล โดย ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์
คุณคุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนมากน้อยแค่ไหน โดยทั่วไป คุณคุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนมากน้อยแค่ไหน ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1. Vietnam 88.6% 2. Lao PDR 84.5% 3. Indonesia 68.3% 4. Thailand 68.0% 5. Malaysia 65.9% 6. Philippines 59.6% 7. Cambodia 58.8% 8. Brunei 53.8% 9. Singapore 50.3% 10. Myanmar 9.6% นศ. 2,170 คน/ ข้อมูล โดย ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์
ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1. Vietnam 88.6% 2. Lao PDR 84.5% 3. Indonesia 68.3% 4. Thailand 68.0% 5. Malaysia 65.9% 6. Philippines 59.6% 7. Cambodia 58.8% 8. Brunei 53.8% 9. Singapore 50.3% 10. Myanmar 9.6% นศ. 2,170 คน/ ข้อมูล โดย ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์
ทำไมต้องขับเคลื่อนสู่ประชาคมอาเซียน
1. Globalization
1. โลกจะถูกขับเคลื่อนด้วยกระแสเศรษฐกิจและ เทคโนโลยี (การแข่งขันสูง) 2. การเติบโตทางธุรกิจจะพึ่งตลาด ต่างประเทศเป็นหลัก 3. การรวมกลุ่มจะเพิ่มความเข้มแข็งและ อำนาจการต่อรอง - NAFTA = North American Free Trade Agreement
- EU = European Union 4. การแผ่ขยายอย่างรวดเร็วของวัฒนธรรม ตะวันตก 5. อีก 30 ปีข้างหน้า จีน อินเดีย และ ญี่ปุ่นจะมี GDP มูลค่ารวมกันถึง 50% ของ GDP โลก ดร. ประพัฒนพงศ์ เสนาฤทธิ์
2. การเปิดเสรี
(Threat/ Opportunity) การเปิดเสรี 3 ด้าน: 1. ด้านการศึกษา 2. ด้านการค้า 3. ด้านแรงงาน (Threat/ Opportunity)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ASEAN One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งอัตลักษณ์/เอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม
10 ประเทศในประชาคมอาเซียน
อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย
สมาชิกก่อตั้ง 2510 อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย สมาชิกเพิ่มเติม บรูไนดารุสซาลาม (2527) เวียดนาม (2538) สปป. ลาวและพม่า (2540) กัมพูชา (2542)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียนซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015)
Raise our flag high, sky high. Embrace the pride in our heart Raise our flag high, sky high. Embrace the pride in our heart. ASEAN we are bonded as one. Look'in out to the world. For peace our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream, We care to share. Together for ASEAN. We dare to dream, We care to share For it's the way of ASEAN.
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community-APSC) มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค เพื่อให้ประเทศในภูมิภาค อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ไขปัญหาและ ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี