อาเซียนคำทักทาย จัดทำโดย ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47 ด.ญ.อชิรญา ป้อมสูง ม.1/16 เลขที่ 47 ด.ญ. อริสรา กิ่งพุด ม.1/16 เลขที่ 49 เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษาในพระราชูปถัมภ์
คำทักทายประเทศไทย คำทักทายของประเทศไทย คือคำว่า “สวัสดี” ความหมายของคำ "สวัสดี" ได้สะท้อนไปถึงความ ปรารถนาดี เปี่ยมไปด้วยไมตรีจิต เป็นการอวยพร ให้กับผู้ที่เราสนทนา ให้ประสบพบแต่สิ่งที่ดี ซึ่ง เหล่านี้เป็นลักษณะพิเศษในคำทักทายของคนไทย
คำทักทายประเทศพม่า คำทักทายของประเทศพม่า คือคำว่า “มิงกาลาบา” ภาษาพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษา ทิเบต – พม่า ภาษา พม่า มีตัวอักษรพม่าซึ่งดัดแปลงมาจากภาษามอญ เป็นภาษาที่มีระดับเสียงวรรณยุกต์ 4 เสียง จัดอยู่ใน ตระกูลภาษาพรามี
คำทักทายประเทศลาว คำทักทายของประเทศลาว คือคำว่า “สะบายดี” เป็น ภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไต สำเนียงการออก เสียงคล้ายกับภาษาอีสานของประเทศไทย บางคำ ใกล้เคียง บางคำก็ต่างกันซะจนความหมายผิดเพี้ยน
คำทักทายประเทศบรูไน คำทักทายของประเทศบรูไน คือคำว่า “ซาลามัต ดา ตัง” การทักทายจะจับมือกันเบา ๆ
คำทักทายประเทศฟิลิปปินส์ คำทักทายของประเทศฟิลิปปินส์ คือคำว่า “กูมุสตา” ประเทศฟิลิปปินส์จะจับมือกัน เพื่อทักทาย และได้รับ วัฒนธรรมมาจากชาวตะวันตก
คำทักทายประเทศสิงคโปร์ คำทักทายของประเทศสิงคโปร์ คือคำว่า “หนีห่าว” คำทักทายคำเดียวกับประเทศจีน ซึ่งประเทศสิงคโปร์ได้รับวัฒนธรรมมาจาก ประเทศจีน
คำทักทายประเทศเวียดนาม คำทักทายของประเทศเวียดนาม คือคำว่า “ซินจ่าว” ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษาทางการของ ประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนาม ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีน และเดิมใช้ อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษา เวียดนามให้เป็น ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งใน กลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด
คำทักทายประเทศมาเลเซีย คำทักทายของประเทศมาเลเซีย คือคำว่า “ซาลามัต ดาตัง” เป็นการทักทายแบบจับมือ กัน ซึ่งคำทักทายเหมือนกับประเทศบรูไน
คำทักทายประเทศอินโดนีเซีย คำทักทายของประเทศอิโดนีเซีย คือคำว่า “ซาลามัต เชียง” ภาษาที่ใช้มีรากฐานมาจากภาษามลายู เรียกว่าภาษา บาฮาซาอินโดนิเซีย