เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การสร้างคำถาม.
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
เทคนิคการวิจัยแบบ EFR (The Ethnographic Futures Research)
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
แบบสอบถาม (Questionnaires)
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การออกแบบสร้างนวัตกรรม สำหรับการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย Process of Research
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Delphi Technique การวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย 7.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) รศ.ดร.บุญมี พันธุ์ไทย เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR พัฒนาขึ้นโดยผสมผสานเทคนิคการวิจัยแบบ EFR (Ethnographic Futures Research) กับเดลฟาย (Delphi) ขั้นตอนของ EDFR ก็คล้ายกันกับ Delphi แต่ปรับปรุงวิธีให้ยืดหยุ่นและเหมาะสมมากขึ้น

โดยรอบแรกจะใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบ EFR หลังจากการสัมภาษณ์รอบแรก ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์แล้วสร้างเครื่องมือ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบสอบถามโดยให้ผู้เชี่ยวชาญตอบตามรูปแบบของเดลฟายเพื่อกรองความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

เพื่อหาฉันทามติ ทำประมาณ 2-3 รอบ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์แนวโน้มที่มีความเป็นไปได้มากและสอดคล้องทางความคิดเห็นระหว่างกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เพื่อสรุปเป็นอนาคตภาพ

ขั้นตอนของEDFRมีดังนี้ กำหนดกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญและจำเป็นมาก ถ้าเราได้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญจริงๆ ผลของการวิจัยก็จะเชื่อถือได้มากยิ่งขึ้น

สัมภาษณ์ EDFR รอบที่หนึ่ง เมื่อได้ผู้เชี่ยวชาญแล้วก็จะนัดเวลาสัมภาษณ์ซึ่ง การสัมภาษณ์จะเหมือนกับ EFR โดยเริ่มจาก Optimistic Realistic (O-R) Pessimistic Realistic (P-R) และ Most Probable (M-P) ตามลำดับ

(ข้อ 2 ต่อ) หรือจะเลือกสัมภาษณ์เฉพาะแนวโน้มที่ผู้เชี่ยวชาญคาดว่าเป็นไปได้และน่าจะเป็น โดยไม่คำนึงว่าแนวโน้มนั้นๆ จะดีหรือร้าย

วิเคราะห์ / สังเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อสร้างเป็นเครื่องมือสำหรับทำเดลฟาย สร้างเครื่องมือเป็นแบบสอบถามปลายปิด ทำเดลฟาย ( รอบที่สอง สาม ...) เขียนอนาคตภาพเพื่อสรุปเป็นผลการวิจัย

ข้อเปรียบเทียบระหว่าง EDFR กับ Delphi ในรอบแรกของการวิจัย EDFR ใช้การสัมภาษณ์แบบ EFR ซึ่งจะช่วยให้ผู้วิจัยได้แนวโน้มที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด และนำไปศึกษาต่อในรอบที่สองและสาม ซึ่งเป็นการเคารพความเชี่ยวชาญของผู้เชี่ยวชาญอย่างแท้จริง

การวิจัยแบบเดลฟาย รูปแบบในรอบ2 และ3 จะเป็นแบบสอบถามปลายปิดที่ผู้วิจัยสร้างจากผลการสัมภาษณ์รอบที่หนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นการดูถูก (Underestimate) ความเชี่ยวชาญของผู้เชี่ยวชาญ เพราะจำกัดคำตอบที่ควรจะได้จากผู้เชี่ยวชาญ หรือเป็นการกำหนดกรอบความคิดของผู้เชี่ยวชาญ

EDFR ใช้การสัมภาษณ์ในรอบแรกซึ่ง จะได้แนวโน้มและประเด็นปัญหาที่สอดคล้องตามจุดมุ่งหมายของการวิจัยอนาคตและแนวโน้มทุกแนวโน้ม ยังได้รับการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญอีกในการทำ EDFR รอบที่สอง สาม ...

เปรียบเทียบระหว่าง EDFR กับ EFR EDFR ต่างจาก EFR คือ EFR สัมภาษณ์รอบเดียว ส่วน EDFR สัมภาษณ์รอบแรกแล้วตามด้วยเดลฟายในรอบที่สอง สาม ... วิธีการของ EDFR จึงมีระบบของการได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้มากกว่า

ผลสรุปของ EFR คือ อนาคตภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์รอบเดียว โดยเลือกเอาแนวโน้มที่มีฉันทามติระหว่างผู้ถูกสัมภาษณ์ จุดอ่อนคือ ขาดระบบที่น่าเชื่อถือในการพิจารณาแนวโน้มที่มีฉันทามติ ซึ่งแนวโน้มที่สำคัญอาจหลุดไป

ส่วน EDFR มีแนวโน้มที่ได้จากการสัมภาษณ์ รอบแรกป้อนกลับไปให้ผู้เชี่ยวชาญทุกคนพิจารณาอีกในการเดลฟาย ทำให้ทุกแนวโน้มได้รับการพิจารณาอย่างมีระบบเท่าเทียมกัน ผลสรุปที่ได้จากการวิจัยแบบ EDFR จึงเป็นระบบและได้แนวโน้มที่มีความครอบคลุมและน่าเชื่อถือมากกว่า EFR