การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
เครื่องคิดเลข การใช้ SHARP EL -506 W
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การรับค่าและแสดงผล.
การใช้งานเครื่องถ่าย
LAB # 3 Computer Programming 1
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
Microsoft Excel 2007.
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 อัตราส่วน.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Project Management.
จดหมายเวียน (Mail Merge)
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
การใช้งาน Microsoft Excel
Operators ตัวดำเนินการ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
BOND WORKSHEET เพื่อที่จะเข้าสู่ Bond Worksheet กด 2nd [BOND]
Depreciation Worksheet
การคำนวณทางสถิติ (Statistics worksheet)
การใช้งาน Microsoft Windows XP
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
การแจกแจงปกติ.
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
Operators ตัวดำเนินการ
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน Texas Instruments รุ่น BA II Plus และรุ่น BA II Plus Professional

การเปิดและปิดเครื่อง  การเปิดเครื่อง - กดปุ่ม on ( ซึ่งอยู่ทางขวามือของเครื่อง )  การปิดเครื่อง มี 2 แบบ - กดปุ่ม off เพื่อปิดเครื่อง - เครื่องปิดด้วยระบบ Automatic Power Down ก็คือ เมื่อทิ้งไว้ 5 นาที เครื่องจะปิดโดยอัติโนมัติ เพื่อประหยัด พลังงาน  เมื่อเปิดเครื่องสภาพจะอยู่ที่หน้าจอก่อนที่จะปิดเครื่อง

การเลือกคำสั่งลำดับที่ 2 ( 2nd Function )  อยู่ทางซ้ายมือของเครื่องคิดเลข  เป็นคำสั่งที่ต้องใช้กับคำสั่งสีเหลืองที่อยู่เหนือปุ่ม เช่น เราต้องการคำนวณ 5! วิธีทำคือ 1. กด เลข 5 2. กดปุ่ม 2nd 3. กด x! 4. เครื่องจะปรากฏคำตอบคือ 120

การเลือกคำสั่งลำดับที่ 2 ( 2nd Function )  หรือ ปุ่ม p/y ก็คือ payment per year วิธีทำ 1. กดปุ่ม 2nd 2. กดปุ่ม p/y 3. จะปรากฏเป็น p/y = 1.00

สัญลักษณ์บนหน้าจอ Cpt Enter กด enter ถ้าต้องการใส่ค่า ลงในตัวแปรที่แสดงอยู่ สามารถดูตัวอย่างได้จากการคำนวณโดยใช้ worksheet [Set] กดปุ่ม 2nd แล้วกด [set] ถ้าต้องการเปลี่ยนค่าที่ตั้งไว้ของตัวแปรที่แสดงอยู่ กดปุ่ม หรือ เพื่อดูค่าตัวแปรก่อนหน้าหรือถัดไป +/- กด +/- แสดงค่าที่เป็นลบ

สัญลักษณ์บนหน้าจอ Del กด 2nd แล้วกด [del] เมื่อต้องการลบค่าตัวแปรใน cash flow หรือข้อมูลทางสถิติ Ins กด 2nd แล้วกด [Ins] เมื่อต้องการแทรกตัวแปรใน cash flow หรือข้อมูลทางสถิติ ◄ ปรากฏเมื่อค่าของตัวแปรในworksheet ถูกใส่ค่าแล้ว เช่น กดเลข 100 แล้วกดปุ่ม pv จะปรากฏค่า pv =100 และมีเครื่องหมายบอก * ปรากฏเมื่อคำนวณค่าของตัวแปรในworksheet เสร็จแล้ว = บอกว่าตัวแปรมีค่าเท่ากับเท่าไหร่เมื่อมีการคำนวณ

สัญลักษณ์บนหน้าจอ STO เป็นการ memory ข้อมูลไว้ เช่น กด 25 แล้วกดที่ปุ่ม STO และกดที่ปุ่มตัวเลข 0-9 ที่ๆเราต้องการ mem ข้อมูลไว้ STAT เป็นปุ่มที่ใช้ในการคำนวณทางสถิติ เช่น การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล เป็นต้น โดยเราจะต้องใส่ข้อมูลไว้ก่อนก็คือ ใส่ตัวเลขไว้ใน Data CLR TVM เป็นการ clear ข้อมูลเมื่อเราทำการคำนวณทางการเงินเสร็จแล้ว เช่น การหา NPV และ IRR

การตั้งค่า format ของเครื่องคำนวณ กำหนดตำแหน่งทศนิยม ( 0-9 ตำแหน่ง ) วิธีทำ 1. กด 2nd 2. กด [format] 3.จะปรากฏเป็นตัวอักษร DEC เพื่อให้เลือกตำแหน่งทศนิยม ในการแสดงผล โดยค่าตั้งต้นคือ 2 ตำแหน่ง 4. เมื่อต้องการเปลี่ยนจำนวนทศนิยม ให้กดตัวเลข แล้วกด enter

การตั้งค่า format ของเครื่องคำนวณ เช่น เราเลื่อน ไปที่ chn และเมื่อกด 2nd แล้วกด set จะเกิด Aos Chn และ Aos คือ วิธีการคำนวณ โดยความแตกต่างก็คือ chn จะทำทุกลำดับการกระทำจากซ้ายไปขวา เช่น 9-2*4+2 = 30 Aos จะทำตามหลักคณิตศาสตร์ คือ ถ้ามีวงเล็บให้ทำในวงเล็บก่อน และถ้าไม่มีวงเล็บก็ให้คำนวณคูณหาร แล้วจึงทำการคำนวณบวกลบตามมา จากซ้ายไปขวา เช่น 9-2*4+2 = 3 วิธีทำ คือ ( 2*4=8 , 9-8=1 , 1+2 =3 )

การ Reset เครื่องคำนวณ ลบการแสดงผลและค่าตัวแปรใน worksheet , ตัวแปรทั้งหมดและ การคำนวณที่ไม่สมบูรณ์ การทำให้เครื่องกลับไปใช้ค่าตั้งต้น กลับการกระทำไปเป็น Standard Mode ( การกลับไป Standard Mode สามารถทำได้อีก 1 วิธี คือ กด 2nd แล้วกด [Quit]

การ Reset เครื่องคำนวณ 1. เมื่อกด 2nd แล้วกด [reset] ( อยู่ใต้เครื่องหมาย +/- ) เครื่องจะขึ้น RST? และสัญลักษณ์ Enter จะปรากฏขึ้น 2. กดปุ่ม Enter เครื่องจะขึ้นว่า RST และ 0.00 เป็นการยืนยันว่าเครื่องคำนวณได้ Reset แล้ว ** หากต้องการยกเลิกการ Reset ให้กด 2nd แล้วกด [Quit]** **หากเครื่องอยู่ในสภาวะ error ให้กดปุ่ม CE/Cก่อนแล้วจึงทำการ Reset**

การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างการคำนวณที่จะต้องกดปุ่ม = รูปแบบการคำนวณ วิธีการกด ผลลัพธ์ที่แสดง การบวก 6 + 4 6 + 4 = 10.00 การลบ 6 - 4 6 – 4 = 2.00 การคูณ 6 x 4 6 x 4 = 24.00 การหาร 6 ÷ 4 6 ÷ 4 = 1.50 การยกกำลังใด ๆ : 31.25 3 yx 1.25 = 3.95 ใช้วงเล็บ : 7 x (3+5) 7 x ( 3 + 5 ) = 56.00

การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างการคำนวณที่จะต้องกดปุ่ม = รูปแบบการคำนวณ วิธีการกด ผลลัพธ์ที่แสดง 4% ของ 453 453 x 4 % = 18.12 หาอัตราส่วนเป็น % : 14 กับ 25 14 ÷ 25 % = 56.00 หาราคาเมื่อเพิ่มเป็น %: 498 +7% 498 + 7 % = 532.86 หาราคาเมื่อหักเป็น%: 69.99-10% 69.99 - 10 % = 62.99

การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างการคำนวณที่ไม่จำเป็นต้องกดปุ่ม = รูปแบบการคำนวณ วิธีการกด ผลลัพธ์ที่แสดง กำลังสอง : 6.32 6.3 x2 39.69 รากที่สอง : √15.5 15.5 √ 3.94

แบบฝึกหัดทดสอบความเข้าใจ ( 5 * 3 ) – ( 20 / 4 ) = ? Ans. 10 ( การกดวงเล็บจะไม่ปรากฏเครื่องหมายวงเล็บเมื่อเรากด ) 4 2.5 + 2 4 = ? Ans. 48 ( กดปุ่ม yX และเครื่องหมาย = ) 3. 6! / ( 4! * 2! ) = ? Ans. 15 ( กดปุ่ม 2nd และปุ่ม x!)

แบบฝึกหัดทดสอบความเข้าใจ 4.กางเกงราคา 1,650 บาท ลด 12% กางเกงเหลือราคาเท่าไหร่ Ans. 1,452 ( กด 1,650 – 12% = 1,452 ) 5. 25,600 คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของ 158,000 = ? Ans. 16.20 % ( กด 25,600 / 158,000 กด% กด enter ) 6. 4√256 + 5√64 + 3√-27 = Ans. 3.39 ( ใช้ปุ่ม yx และวงเล็บ )