กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
Advertisements

บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
ข้อบังคับกระทรวงกลาโหม
การเทียบตำแหน่ง.
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
กฎหมายเบื้องต้น.
วิชาว่าความและ การถามพยาน
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ประมวลกฎหมายอาญาทหาร
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการช่วยเหลือเจ้าพนักงาน ของหน่วยกำลังคุ้มครองและรักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน พ.ศ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ nitinor@yahoo.com โดย พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประกาศนียบัตรกฎหมายระหว่างประเทศ ของสถาบันกฎหมายระหว่างประเทศกรุงเฮก nitinor@yahoo.com เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

กรณีศึกษาเหตุการณ์ตากใบ justice must be seen to be done

ภาพรวมกฎอัยการศึก ครม. ผบ.ทหาร พระมหากษัตริย์ จลาจล ประกาศพระบรมราชโองการ ให้ใช้กฎอัยการศึก เหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย ผบ.ทหาร ประกาศใช้กฎอัยการศึก สงคราม ข้อความในกฎหมายใดที่ขัดกับความของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ข้อความนั้นต้องระงับและใช้บทบัญญัติของกฎอัยการศึก ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน ผบ.ในป้อมหรือที่มั่นของทหาร ห้าม ขับไล่ ค้น ยึด เกณฑ์ กัก ทำลาย เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือประชาชน/เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน

ความหมาย กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร ต่อ เอกชนหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน โดย - เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน - รัฐมีอำนาจเหนือกระทำการที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในกรณีมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับกฎหมายเอกชน(1) ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับกฎหมายเอกชน(1) ลำดับ เกณฑ์นิติสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน กฎอัยการศึก 1 ผู้ก่อนิติสัมพันธ์ เอกชน กับ เอกชน มีนิติสัมพันธ์กัน รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ กับ เอกชนหรือหน่วยงานของรัฐ มีนิติสัมพันธ์กัน 2 วัตถุประสงค์ของนิติสัมพันธ์ ประโยชน์ส่วนบุคคล ประโยชน์สาธารณะ(PUBLIC INTERREST) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับ กฎหมายเอกชน(2) ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึกกับ กฎหมายเอกชน(2) ลำดับ เกณฑ์นิติสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน กฎอัยการศึก 3 วิธีการที่ใช้ในการก่อนิติสัมพันธ์ เอกชนเสมอภาคกัน จึงก่อนิติสัมพันธ์กันขึ้นโดยความสมัครใจ รัฐ(ทหาร)มีอำนาจเหนือ(อำนาจทางปกครอง) จึงใช้วิธีการฝ่ายเดียวในการก่อนิติสัมพันธ์ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึก กับ กฎหมายเอกชน(3) ข้อแตกต่างระหว่าง กฎอัยการศึก กับ กฎหมายเอกชน(3) ลำดับ เกณฑ์นิติสัมพันธ์ กฎหมายเอกชน กฎอัยการศึก 4 สภาพบังคับ -เอกชนอาจทำนิติกรรมสัญญาแตกต่างจากที่กฎหมายเอกชนบัญญัติก็ได้ เว้นแต่ขัดต่อความสงบหรือศีลธรรม -เมื่อฝ่าฝืนกฎหมายหรือสัญญา เอกชนต้องไปฟ้องศาล -จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายทหาร -เมื่อฝ่าฝืนคำสั่ง รัฐบังคับเอง เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

1.ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ในสถานการณ์คล้ายกัน ศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 กับ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548(พรก.ฉุกเฉิน) เหมือนกัน : 1.ให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ในสถานการณ์คล้ายกัน 2.เจ้าหน้าที่จะใช้อำนาจได้ก็ต่อเมื่อมีการประกาศ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ข้อแตกต่าง ลำดับ เกณฑ์ พรก.ฉุกเฉิน กฎอัยการศึก 1 ผู้ประกาศ คณะรัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ หรือ ทหาร 2 ผู้ใช้อำนาจ ฝ่ายพลเรือน ฝ่ายทหาร 3 วิธีปฏิบัติในการใช้อำนาจ การใช้อำนาจที่สำคัญต้องขอต่อศาล ฝ่ายทหารใช้อำนาจเต็ม ไม่ต้องขอต่อศาล 4 การควบคุมโดยศาล ไม่อยู่ภายใต้อำนาจของศาลปกครอง บางกรณีตกอยู่ภายใต้อำนาจศาลปกครอง 5 การควบคุมทางการเมือง ควบคุมภายในฝ่ายบริหาร โดยมีการกำหนดเวลา ควบคุมภายในฝ่ายบริหาร โดยมีหลักว่าเมื่อหมดความจำเป็นแล้วต้องรีบยกเลิก เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

หลักความชอบด้วยกฎหมาย เว้นแต่ ในกรณีสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือในยามสงคราม : ความจำเป็นคือกฎหมาย หากมีการโจมตีประเทศใดประเทศหนึ่งด้วยอาวุธ ประเทศนั้นย่อมมีสิทธิ/อำนาจที่จะกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของประเทศตนเองได้ (กฎบัตรสหประชาชาติ ข้อ 51) เจ้าหน้าที่จะกระทำการใดที่มีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจ และจะต้องกระทำภายในขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้เท่านั้น หลักการป้อง กันตัวของรัฐ บุคคลที่มีสถานะเหมือนกันย่อมได้รับการปฏิบัติที่เหมือนกัน ถ้าบุคคลมีสถานะแตกต่างกัน ย่อมต้องได้รับการปฏิบัติที่แตกต่างกันด้วย หลักกฎหมายพื้นฐานของกฎอัยการศึก หลักความเสมอภาค หลักความชอบด้วยกฎหมาย หลักพอสมควรแก่เหตุ กฎการใช้กำลัง (ROE) ไม่มีความเสมอภาคในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หลักความเหมาะสม : รัฐมีอำนาจออกมาตรการเป็นที่ยอมรับหรือแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งว่า มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย หลักพอสมควรแก่เหตุอย่างแคบ : มาตรการที่รัฐเลือกใช้ จะต้องไม่ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้ได้รับผลกระทบจนเกินขอบเขต หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล หลักความจำเป็น : มาตรการที่รัฐออกมานั้น จะต้องก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพ น้อยกว่า มาตรการอื่นที่รัฐมีอำนาจเลือกใช้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ความเป็นมาของกฎอัยการศึกไทย กฎอัยการศึก ร.ศ.126 ให้อำนาจพระมหากษัตริย์ และ ทหาร ประกาศใช้กฎอัยการศึก ประกาศได้เฉพาะกรณีเหตุจำเป็น สงคราม จลาจล ให้อำนาจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารค้น ขับไล่ ให้ส่งอาวุธและกระสุนดิน ตรวจและจับกุม เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

วัตถุประสงค์ของ กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 เพื่อสำหรับวางแผนการรักษาพระราชอาณาจักร ด้วยอำนาจและกำลังทหาร ( กฎเสนาบดี ม.1 ) เพื่อตระเตรียมการให้พร้อมไว้ เมื่อมีเหตุจำเป็นก็ปฏิบัติการได้ถูกต้องทันที(กฎเสนาบดี ม.1 ) เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ ป้องกันมิให้มีภัยคุกคาม ในยามที่หน่วยงานของรัฐอื่นขาดศักยภาพ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก เหตุที่จะประกาศ ใช้กฎอัยการศึก เหตุอันจำเป็นเพื่อรักษาความเรียบร้อยปราศจากภัย ซึ่งจะมีมาจากภายนอกหรือภายในราชอาณาจักร ( กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.2) พระมหากษัตริย์ หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รัฐธรรมนูญ(2550)มาตรา 188 วรรคแรก บัญญัติว่า“ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการประกาศใช้และเลิกใช้กฎอัยการศึกตามลักษณะและวิธีการตามกฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก” (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.2) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ผู้มีอำนาจประกาศ ใช้กฎอัยการศึก เหตุที่จะประกาศ ใช้กฎอัยการศึก ผู้บังคับบัญชาทหาร (ผบ.) (กฎอัยการศึก ม.4) ( รัฐธรรมนูญ มาตรา 188 วรรคสอง บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องประกาศใช้กฎอัยการศึกเฉพาะแห่งเป็นการรีบด่วน เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารย่อมกระทำได้ตามกฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก” ) - ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน - ผบ.ในป้อมหรือที่มั่นของทหาร มีสงคราม (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.4) มีการจลาจล ( กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ม.4) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

สายงานการบังคับบัญชา(หลัก) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด(ผบ.ทหารสูงสุด)(พล.อ.) ผู้บัญชาการทหารบก(ผบ.ทบ.)(พล.อ.) แม่ทัพภาค(มทภ.)(พล.ท.) ผู้บัญชาการกองพล(ผบ.พล)(พล.ต.) ผู้บังคับการกรม(ผบ.กรม)(พ.อ.) ผู้บังคับกองพัน(ผบ.พัน)(พ.ต.-พ.ท.) ผู้บังคับกองร้อย(ผบ.ร้อย)(ร.อ.-พ.ต.) ผู้บังคับหมวด(ผบ.มว)(ร.ต.-ร.ท.) ผู้บังคับหมู่(ผบ.ม)(ส.อ.-จ.ส.อ.) ลูกแถว เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

สามารถใช้อำนาจตามกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ได้ ข้อเหมือนกันระหว่างการประกาศใช้กฎอัยการศึกของพระมหากษัตริย์ กับ ผู้บังคับบัญชาทหาร พระมหากษัตริย์ ผู้บังคับบัญชาทหาร การมีผลใช้บังคับ สามารถใช้อำนาจตามกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ได้ การทบทวนการประกาศ ฝ่ายบริหารทบทวนได้เสมอ การประกาศเลิกใช้กฎอัยการศึก ต้องมีพระบรมราชโองการ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ข้อแตกต่างระหว่างการประกาศใช้กฎอัยการศึกของพระมหากษัตริย์ กับ ผู้บังคับบัญชาทหาร เรื่องที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก เหตุอันจำเป็นเพื่อรักษาความเรียบร้อย เฉพาะสงครามหรือจลาจลเท่านั้น อำนาจในการประกาศ นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี (พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจตามแบบพิธี มีผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ) รูปแบบการประกาศ พระบรมราชโองการ ประกาศ(ทั่วไป) เขตพื้นที่ในการประกาศ เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ ทั้งประเทศ ก็ได้ เฉพาะในเขตอำนาจหน้าที่ของกองทหารนั้น การรายงานหลังจากประกาศ ไม่ต้องรายงาน ต้องรีบรายงานรัฐบาล เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ข้อแตกต่างของการประกาศใช้กฎอัยการศึกระหว่าง ผบ ข้อแตกต่างของการประกาศใช้กฎอัยการศึกระหว่าง ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน กับ ผบ.ในป้อมหรือที่มั่น ผบ.ไม่น้อยกว่า 1 กองพัน ผบ.ในป้อมหรือที่มั่น ขนาดของกำลัง ต้องมีกำลังไม่น้อยกว่า 1 กองพัน อาจมีกำลังน้อยกว่า 1 กองพันก็ได้ ความเร่งด่วน ไม่ถึงขั้นมีราชศัตรูประชิดตัว มีราชศัตรูประชิดตัว ความเป็นอิสระ ต้องอิสระ อาจไม่อิสระก็ได้

หลักเกณฑ์และวิธีการประกาศ ใช้กฎอัยการศึก 1. ต้องประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร 2. ต้องกล่าวถึงเหตุที่จะต้องประกาศใช้กฎ 3. ต้องกล่าวถึงพื้นที่ที่จะประกาศใช้กฎ 4. ต้องกล่าวถึงวันเวลาที่เริ่มใช้กฎ 5. ต้องกล่าวถึงตำบลที่เขียนประกาศและ วันเวลาที่ออกประกาศ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

หลักเกณฑ์และวิธีการประกาศ ใช้กฎอัยการศึก 6. ต้องกล่าวถึงยศ บรรดาศักดิ์ หรือนาม ตำแหน่ง ของผู้ประกาศใช้กฎ 7. ควรปรึกษา ผบ.เหนือตน นายทหารเหนือตน ฝ่ายปกครอง เว้นแต่ ไม่มีเวลา 8. เมื่อประกาศแล้ว ให้รายงานชี้แจงเหตุผลต่อ รมว.กห. , ผบ.ของตน , คัดสำเนาพร้อมแผนที่ ส่งไปฝ่ายปกครอง , ให้ผู้ประกาศ ฯ และนายทหารในกรมกองชี้แจงประชาชนให้ทราบและเข้าใจวิธีการ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ผลของการประกาศใช้กฎอัยการศึก(1) ข้อความในกฎหมายใด ขัดกับ ความของกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 ข้อความนั้นต้องระงับและใช้บทบัญญัติของกฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน มีอำนาจเหนือ คือ... เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร คือ... เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน คือ... เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ผลของการประกาศใช้กฎอัยการศึก(2) เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจเต็ม ที่จะกระทำการดังนี้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ห้าม(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 11) จำกัดเสรีภาพการสื่อสาร - ห้ามออก จำหน่าย จ่าย แจก ซึ่งหนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพ บท หรือคำประพันธ์(มาตรา 11(2)) - ห้ามโฆษณา แสดงมหรสพ รับหรือส่งซึ่งวิทยุ วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์(มาตรา 11(3)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ห้าม / ขับไล่ จำกัดเสรีภาพการเดินทาง - ห้ามออกนอกเคหะสถานระหว่างเวลา(มาตรา 11(6)) - ห้ามใช้ทางสาธารณะเพื่อการจราจร (มาตรา 11(4)) - ห้ามเข้า หรืออาศัย ในบริเวณที่จำเป็นเพื่อการยุทธการ ระงับปราบปราม หรือการรักษาความสงบเรียบร้อย เมื่อประกาศแล้ว ให้ผู้ซึ่งอาศัยออกไปจากเขตนั้นภายในกำหนดเวลา(มาตรา 11(7)) จำกัดเสรีภาพการเดินทาง - ขับไล่เมื่อสงสัย หรือจำเป็น - ผู้ซึ่งไม่มีภูมิลำเนา หรือ - ผู้ซึ่งอาศัยเพียงชั่วคราว ให้ออกไปจากเมืองหรือตำบลนั้น เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ห้าม จำกัดเสรีภาพการชุมนุม - ห้ามมั่วสุมประชุม (มาตรา 11(1)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ห้าม จำกัดสิทธิความเป็นเจ้าของ/กรรมสิทธิ์ ห้ามมีหรือใช้ เครื่องมือสื่อสาร อาวุธ เครื่องอุปกรณ์ของอาวุธ และ - เคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่ทำให้เกิดอันตราย ที่อาจทำเป็นเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดดังกล่าว (มาตรา 11(5)) ห้ามกระทำ หรือมี ซึ่งกิจการหรือสิ่งอื่นใด ตามที่รมว.กห.กำหนด (มาตรา 11(8)) เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ค้น (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 9) ค้น (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 9) สิ่งซึ่งจะเกณฑ์/ห้าม/ยึด/เข้าอาศัย/มีไว้ในครอบครองโดยไม่ชอบ บุคคล ในยานพาหนะ/เคหสถาน/สิ่งปลูกสร้าง/ที่ใด ๆ และ ได้ทุกเวลา ข่าวสาร จดหมาย โทรเลข หีบ ห่อ หรือสิ่งอื่นที่ส่งหรือมีไปมาถึงกัน หนังสือ สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ภาพโฆษณา บทหรือคำประพันธ์ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

กัก(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 15ทวิ) ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่า - บุคคลใดจะเป็นราชศัตรูหรือ - ได้ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของพระราชบัญญัตินี้ หรือ ต่อคำสั่งของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจกักตัว เพื่อสอบถามหรือตามความจำเป็น แต่ต้องกักไม่เกินกว่า 7 วัน เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

เกณฑ์(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 10) (คน) พลเมืองให้ช่วยกำลังทหาร (ทรัพย์สิน) ยวดยาน สัตว์พาหนะ เสบียงอาหาร เครื่องศาตราวุธ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ จากบุคคลหรือบริษัทใด ๆ ซึ่งราชการทหารจะต้องใช้เป็นกำลังในเวลานั้นทุกอย่าง เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ยึด(กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 12) ยึดสิ่งที่กำหนดไว้ในมาตรา 9 , 10 , 11 ไว้ชั่วคราว เพื่อมิให้เป็นประโยชน์แก่ราชศัตรู หรือเพื่อเป็นประโยชน์แก่ราชการทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

เข้าอาศัย (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 13) เข้าอาศัย (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 13) เข้าพักอาศัยที่ซึ่งราชการทหารเห็นจำเป็น และใช้เป็นประโยชน์ในราชการทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

เปลี่ยนแปลงสถานที่ (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 14(2)) สร้างที่มั่น หรือดัดแปลง ภูมิประเทศหรือหมู่บ้าน เมือง สำหรับการต่อสู้ราชศัตรู หรือเตรียมการป้องกันรักษา เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ทำลายสถานที่ (กฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 14(1)) - เมื่อการสงคราม หรือรบสู้ เป็นรอง - มีอำนาจ - เผาบ้าน และสิ่งที่จะเป็นกำลังแก่ราชศัตรู เมื่อทหารถอยไปแล้ว - สิ่งที่กีดกันการสู้รบ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

การดำเนินคดี(มาตรา 7) หลัก : ศาลพลเรือนคงมีอำนาจตามปกติ ข้อยกเว้น : 1. ผู้มีอำนาจประกาศใช้กฎฯ ให้ศาลทหารพิจารณาพิพากษา เฉพาะคดีอยู่ในอำนาจของศาลอาญาศึก และเป็นคดีตามที่ระบุในบัญชีต่อท้าย 2. ผู้บัญชาการทหารสูงสุดสั่งให้ศาลทหารพิจารณาพิพากษา เนื่องจากเห็นว่าเป็นคดีมีเหตุพิเศษ เกี่ยวกับความมั่นคง ความสงบ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

ร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารไม่ได้ (มาตรา 16) ห้ามร้องขอค่าเสียหายหรือค่าปรับ ซึ่งอาจเกิดขึ้น เนื่องจากการกระทำตามมาตรา 8 และมาตรา 15 แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์

มอบอำนาจให้เจ้ากระทรวง (มาตรา 17) ในเวลาปกติ รมว.กห.มีอำนาจตรากฎกระทรวงขึ้นสำหรับบรรยายข้อความ ในเวลาสงครามหรือจลาจล ผู้บัญชาการกองทัพไทย หรือรองผู้บัญชาการกองทัพไทย มีอำนาจออกข้อบังคับบรรยายความ เมื่อได้ประกาศกฎกระทรวง หรือข้อบังคับของแม่ทัพในทางราชการแล้ว ให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของพระราชบัญญัตินี้ เอกสารประกอบการบรรยายนี้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์