ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
VBScript.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
User Defined Simple Data Type
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Operators ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โปรแกรมยูทิลิตี้.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
Operators ตัวดำเนินการ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Data Structure and Algorithms
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types) ตัวแปรแต่ละตัวจะมีชนิดของข้อมูลที่เก็บ 4 ชนิด ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม ข้อมูลชนิดจำนวนจริง ข้อมูลชนิดตัวอักขระ ข้อมูลชนิดบูลีน

Local and Global Variable Local Variable เป็นตัวแปรที่ใช้ภายใน Module เท่านั้น Global Variable เป็นตัวแปรที่ใช้ได้ในทุกๆ Module

1. ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer) 1.1 Short Integer 1.2 Integer 1.3 Long Integer

1.1 Short Integer มีขนาด 1 Byte หรือ 8 Bit แบ่งเป็น 2 แบบ คือ Unsign (ไม่คิดเครื่องหมาย) 0 – 255 {0, 1, 2, 3, 4, …, 255} Sign (คิดเครื่องหมาย) -128 – 127 {-128, -127, … , -1, 0, 1, … , 127}

1.2 Integer มีขนาด 2 Byte หรือ 16 Bit Unsign (ไม่คิดเครื่องหมาย) 0 – 65535 {0, 1, 2, 3, 4, …, 65535} Sign (คิดเครื่องหมาย) -32768 – 32767 {-32768, -32767, … , -1, 0, 1, … , 32767}

1.3 Long Integer มีขนาด 4 Byte หรือ 32 Bit Unsign (ไม่คิดเครื่องหมาย) 0 – 429467295 {0, 1, 2, 3, 4, …, 429467295} Sign (คิดเครื่องหมาย) -2147483648 – 2147483647 {-2147483648, … , -1, 0, 1, … , 2147483647}

การคำนวณทางคณิตศาสตร์ Integer + Integer = Integer Integer - Integer = Integer Integer * Integer = Integer Integer / Integer = Floating Point Integer mod Integer = Integer Integer div Integer = Integer

Integer mod Integer = Integer K mod M = r K = Mq + r (0 <= r <= M, k > 0) 25 mod 7 = 4 25 = 7*3 + 4 25 mod 5 = 0 25 = 5*5 + 0 6 mod 2 = 0 15 mod 5 = 0 25 mod 4 = 1 49 mod 5 = 4

Integer div Integer = Integer ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาร 6 div 2 = 3 15 div 2 = 7 25 div 4 = 6 49 div 5 = 9 -73 div 2 = -36 -15 div -6 = 2

2. ข้อมูลชนิดจำนวนจริง (Floating Point) จำนวนจริง มีจุดทศนิยม มีขนาด 2 Byte หรือ 16 Bit เช่น 30.5, 45.3, 65.56, 465.768

การคำนวณ *ไม่สามารถทำ mod กับ div ได้ Floating Point + Floating Point = Floating Point Floating Point - Floating Point = Floating Point Floating Point * Floating Point = Floating Point Floating Point / Floating Point = Floating Point Floating Point + Integer = Floating Point Floating Point - Integer = Floating Point Floating Point * Integer = Floating Point Floating Point / Integer = Floating Point *ไม่สามารถทำ mod กับ div ได้

ลำดับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ลำดับที่ 1 ถ้ามีวงเล็บทำในวงเล็บก่อน ถ้ามีหลายวงเล็บทำวงเล็บในสุดก่อน ลำดับที่ 2 ให้ทำเลขยกกำลังก่อน ลำดับที่ 3 ให้ทำ *, /, div, mod ถ้ามีเครื่องหมายในลำดับเดียวกัน ให้ทำจากซ้ายไปขวา ลำดับที่ 4 ให้ทำ +, -

ตัวอย่าง 7 / ( ( 5 * 5 ) mod (6 / 3) * 2 ) 25 2 1 3.5

3. ข้อมูลชนิดตัวอักขระ 3.1 ข้อมูลอักขระ (Character) 3.2 ข้อมูลแบบสายอักขระ (String)

ข้อมูลอักขระ (Character) อยู่ภายใต้ Single Quote ( ‘ ’ ) 1 ตัวอักขระมีขนาด 1 Byte หรือ 8 Bit ข้อมูลแบบสายอักขระ (String) มีความยาวมากกว่า 1 ตัวอักขระ กำหนดได้ว่าจะให้มีขนาดเท่าใด A : string [10] กำหนดให้ A เป็น string ที่มีขนาด 10 ตัวอักขระ ความแตกต่างระหว่างข้อมูลแบบอักขระกับสายอักขระ A : character  A รับค่าได้ 1 ตัวอักขระ B : String [10]  B รับค่าได้ตั้งแต่ 1 – 10 ตัวอักขระ

ข้อมูลชนิดบูลีน (Boolean) เป็นข้อมูลที่ใช้ในเชิงตัดสินใจ มีขนาด 1 Byte ค่าที่เป็นไปได้คือ จริง (True) มีค่าเป็น 00000001 เท็จ (False) มีค่าเป็น 00000000

สัญลักษณ์ที่ใช้ตรวจสอบเงื่อนไข เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ตัวอย่าง เท่ากับ = X = Y มากกว่า > X > Y น้อยกว่า < X < Y มากกว่าเท่ากับ >= X >= Y น้อยกว่าเท่ากับ <= X <= Y ไม่เท่ากับ < > X < > Y

นิพจน์ (Expression) กำหนดให้ a = 10; i = 5 นิพจน์ ค่านิพจน์ a < 5 a div i = 2 20 < 15 20 > 25 False True True False False

สัญลักษณ์ที่ใช้เชื่อมนิพจน์ทางบูลีน ความหมาย not จะให้ค่าตรงข้ามกับนิพจน์นั้น and จะเป็นจริง เมื่อทุกๆนิพจน์ มีค่าเป็นจริง or จะเป็นจริงเมื่อนิพจน์ใดนิพจน์หนึ่งเป็นจริง

การเชื่อมนิพจน์ด้วย And นิพจน์ 1 X นิพจน์ 2 Y ผลลัพธ์ X and Y T F

การเชื่อมนิพจน์ด้วย Or นิพจน์ 1 X นิพจน์ 2 Y ผลลัพธ์ X or Y T F

การเชื่อมนิพจน์ด้วย Not นิพจน์ 1 X ผลลัพธ์ Not X T F

ตัวอย่าง กำหนดให้ a = 10; i = 5 T F T F F T นิพจน์ ค่านิพจน์ (a + i = 15) and (a div i = 2) (a < 5) and (a + i = 15) (a < 5) or (a + i = 15) (a < 5) or (20 < 15) Not (a div i = 2) Not (a < 5) T F T F F T