ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
การสุ่มตัวอย่างและเครื่องมือวิจัย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การจัดกระทำข้อมูล.
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การเขียนรายงานการวิจัย
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร (Population) กลุ่มของสิ่งต่างๆทั้งหมดที่ผู้วิจัยสนใจ ซึ่งอาจเป็นกลุ่มของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ต่างๆ

กลุ่มตัวอย่าง (sample) กลุ่มของสิ่งต่างๆที่เป็นส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยสนใจ กลุ่มตัวอย่างที่ดีหมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะต่างๆที่สำคัญครบถ้วนเหมือนกับกลุ่มประชากร เป็นตัวแทนที่ดีของกลุ่มประชากรได้

ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง กำหนด/นิยามประชากรเป้าหมาย รวบรวมสมาชิกทั้งหมดของประชากร กำหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง วางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

1. กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15 – 30% จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 – 15% จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5 – 10 %

2.ใช้สูตรคำนวณ 2.1 กรณีไม่ทราบค่าพารามิเตอร์ ไม่ทราบจำนวนประชากร ทราบเพียงแต่ว่ามีจำนวนมาก

2.2 กรณีที่ทราบจำนวนประชากรและมีจำนวนไม่มาก

3.กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan

เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

1.การสุ่มโดยไม่คำนึงถึงความน่าจะเป็น 1.1 การสุ่มโดยบังเอิญ (Accidental sampling) เป็นการสุ่มจากสมาชิกของประชากรเป้าหมายที่เป็นใครก็ได้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ครบถ้วน 1.2 การสุ่มแบบโควตา (Quota sampling) เป็นการสุมตัวอย่างโดยจำแนกประชากรออกเป็นส่วนๆก่อนโดยมีหลักจำแนกว่าตัวแปรที่ใช้ในการจำแนกนั้นควรจะมีความสัมพันธ์กับตัวแปรที่จะรวบรวม หรือตัวแปรที่สนใจ และสมาชิกที่อยู่แต่ละส่วนมีความเป็นเอกพันธ์

1. 3 การสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (purposive 1.3 การสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ดุลพินิจของผู้วิจัยในการกำหนดสมาชิกของประชากรที่จะมาเป็นสมาชิกในกลุ่มตัวอย่าง 1.4 การสุมกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก (convenience sampling) การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยถือเอาความสะดวกหรือความง่ายต่อการรวบรวมข้อมูล

ข้อจำกัด ผลการวิจัยไม่สามารถอ้างอิงไปสู่ประชากรทั้งหมดได้ จะสรุปอยู่ในขอบเขตของกลุ่มตัวอย่างเท่านั้น ข้อสรุปนั้นจะสรุปไปหาประชากรได้ต่อเมื่อกลุ่มตัวอย่างมีลักษณะต่างๆที่สำคัญๆเหมือนกับประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ได้นั้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้วิจัยและองค์ประกอบบางตัวที่ไม่สามารถควบคุมได้ และไม่มีวิธีการทางสถิติอย่างไรที่จะมาคำนวณความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสุ่ม (sampling error)

2. การสุ่มโดยการคำนึงถึงความน่าจะเป็น(probability sampling) 1. การสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) สุ่มหน่วยของการสุ่ม (Sampling unit) จนกว่าจะได้จำนวนตามที่ต้องการ โดยแต่ครั้งที่สุม สมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่าเทียมกัน 1.1 การจับฉลาก 1.2 การใช้ตารางเลขสุ่ม

2. การสุ่มแบบเป็นระบบ (systematic sampling) ใช้ในกรณีที่ประชากรมีการจัดเรียงอย่างไม่ลำเอียง 1) ประชากรหารด้วยจำนวนกลุ่มตัวอย่าง (K = N/n) 2) สุ่มหมายเลข 1 ถึง K (กำหนดสุ่มได้หมายเลข r ) 3) r จะเป็นหมายเลขเริ่มต้น ลำดับต่อไป r + K, r +2K, r + 3K, …..

3. การสุ่มแบบแบ่งชั้น (stratified random sampling) เป็นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็นชั้นภูมิย่อยๆเสียก่อนบนพื้นฐานของตัวแปรที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรตาม โดยมีหลักในการจัดแบ่งชั้นภูมิแต่ละชั้นมีความเป็นเอกพันธ์ (Homogeneous)

4.การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (cluster sampling) ถ้าประชากรมีลักษณะคล้ายคลึงกัน การสุ่มเพียงบางกลุ่มแล้วสุ่มสมาชิกภายในกลุ่มนั้นอีกทีหนึ่ง ช่วยลดค่าใช้จ่าย สะดวกต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล

5. การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) เป็นกระบวนการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากประชากรซึ่งดำเนินการสุ่มตั้งแต่ 3 ขั้นขึ้นไป