การจัดกระทำข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
หลักการบันทึกข้อความ
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
การศึกษาชีววิทยา.
การเขียนรายงานการวิจัย
การวางแผนและการดำเนินงาน
งานวิจัยที่ดี.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ธุรกิจ จดหมาย.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนรายงานการวิจัย
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
Uncertainty of Measurement
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
กระบวนการวิจัย Process of Research
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การฟังเพลง.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดกระทำข้อมูล

จุดมุ่งหมายของการจัดกระทำข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายข้อมูล

1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมายหรือสมมติฐานการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมายหรือสมมติฐานการวิจัย 2.ตรวจสอบข้อมูลโดยดูว่าข้อมูลที่รวบรวมมาได้นั้นมาจากแหล่งใด ตรงตามที่ต้องการหรือไม่ และมีความครบถ้วนครอบคลุมตามตัวแปรที่ต้องการศึกษาหรือไม่ 3.จัดแยกประเภทข้อมูล

4. เลือกสถิติในการวิเคราะห์หรือทดสอบสมมติฐาน 5 4. เลือกสถิติในการวิเคราะห์หรือทดสอบสมมติฐาน 5.คำนวณค่าสถิติ / ประมวลผล 6. วางแผนในการนำเสนอผลวิเคราะห์ข้อมูล

การเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล พิจารณาจาก การเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล พิจารณาจาก วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ระดับการวัดของตัวแปร ข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติแต่ละชนิด แบบการวิจัย

ข้อควรระวังในการวิเคราะห์ข้อมูล ควรหลีกเลี่ยง เรื่องต่อไปนี้ รวบรวมก่อนแล้วค่อยหาเทคนิคทางสถิติทีหลัง ใช้สถิติที่ไม่เหมาะสม ใช้สถิติโดยไม่คำนึงถึงระดับของข้อมูล ใช้สถิติโดยไม่คำนึงถึงข้อตกลงเบื้องต้น ใช้สถิติโดยไม่คำนึงถึงขอบเขตการวิจัย การคำนวณและอ่านผลการวิเคราะห์ผิดพลาด

แปลผลวิเคราะห์ (Interpretation) 1. พิจารณาตัวเลขและค่าสถิติต่างๆ ที่คำนวณออกมาได้ว่าแสดงถึงอะไร มีความหมายแค่ไหน และเกี่ยวกับอะไร ตอบคำถามข้อใด 2. การแปลความหมาย ต้องยึดหลักให้สอดคล้องกับข้อจำกัดของข้อมูลและสถิติที่ใช้ 3. แปลความหมายให้อยู่ในขอบเขตการวิจัย และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการวิจัย และประชากรที่ศึกษา

4. การแปลความหมายต้องพิจารณาผลที่ได้นั้นพาดพิงถึงสิ่งใด ควรจะแปลผลในลักษณะอย่างใด จึงถูกต้อง 5. การแปลความหมาย ให้ใช้ภาษาที่กระจ่างแจ้ง กะทัดรัด และเข้าใจง่าย 6. การแปลความหมาย ต้องพิจารณาข้อมูลที่ได้มานั้นมีความน่าเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด

ควรระมัดระวังในการแปลผลดังนี้ ระวังอย่าแปลให้เกินขอบเขตของข้อมูลที่รวบรวมไว้ ระวังอย่าแปลให้เกินขอบเขตการวิจัยที่กำหนดไว้ ระวังอย่าให้เกิดความลำเอียงโดยไม่รู้ตัว ระวังการใช้เหตุผลผิด ระวังเรื่องการคำนวณค่าสถิติที่ผิดพลาด เพราะจะทำให้การแปลผลผิดพลาด การแปลผลต้องแปลตามตัวเลข ไม่มีการแสดงความคิดเห็นใดๆทั้งสิ้น

การสรุปผล สรุปผล ต้องมีลักษณะการตอบคำถามจุดมุ่งหมายการวิจัย หรือข้อพิสูจน์สมมติฐานการวิจัย การสรุปผลต้องอยู่ในขอบเขตของข้อมูล และสรุปอ้างอิงไปถึงประชากรที่ศึกษาเท่านั้น การเสนอแนะ1) การเสนอแนะเกี่ยวกับการนำผลไปใช้ 2) เสนอแนะในการทำวิจัยในครั้งต่อไป

หลักเกณฑ์ในการสรุปผล เขียนให้เป็นประโยคบอกเล่าที่ชัดเจน รัดดุม และชี้เฉพาะ และอยู่ในลักษณะข้อความที่เป็นการตอบจุดมุ่งหมายหรือสมมติฐานที่ตั้งไว้ การสรุปผลต้องตั้งอยู่บนฐานของหลักฐานต่างๆ ที่ได้จากข้อมูลเท่านั้น ไม่ใช้ความเห็นของผู้วิจัย ต้องสรุปในขอบเขตของปัญหาที่ได้นิยามไว้เท่านั้น การสรุปผลต้องอาศัยเหตุผลที่ผ่านการใคร่ครวญอย่างรอบคอบ ซึ่งก็คือการใช้เหตุผลขั้นสูง

การสรุปผลต้องสอดคล้องกับข้อเท็จจริง และหลักการต่างๆของธรรมชาติ นั่นก็คือ ต้องคำนึงถึงข้อตกลงทางวิทยาศาสตร์