เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์ ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช สอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ ๑ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในวิชา Doctor and Society ๑๓ มิ.ย. ๕๔
21st Century Learning จาก informative, formative สู่ transformative learning เรียนให้ได้ 21st Century Skills ปฏิบัติ & ปฏิเวธ นำ ปริยัติ PBL (Project-Based Learning) >> ฟังการบรรยาย
21st Century Skills Reading, ‘Riting, ‘Rithmetics Critical thinking & problem solving Creativity & innovation Collaboration, teamwork & leadership Cross-cultural understanding Communication, information & media literacy ( 2 – 3 ภาษา) Computing & media literacy Career & learning self-reliance Change Learning Leadership
การคิดเชิงวิพากษ์ คิดหลายแบบ หลายชั้น มองต่างมุม ต่างสถานการณ์ คิดหลายแบบ หลายชั้น มองต่างมุม ต่างสถานการณ์ เรียนรู้อย่างไร
คิดแบบสวมหมวก ๖ ใบ หมวกสีขาว คิดอย่างเป็นกลาง ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง หมวกสีขาว คิดอย่างเป็นกลาง ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง หมวกสีแดง คิดอย่างมีอารมณ์ ใช้ความรู้สึก หมวกสีดำ คิดระมัดระวัง หรือคิดเชิงลบ บอกข้อควรระวัง ข้อเสีย อันตราย หมวกสีเหลือง คิดเชิงบวก บอกคุณค่า ประโยชน์ ข้อดี หมวกสีเขียว คิดสร้างสรรค์ เสนอทางเลือกใหม่ คิดหลุดโลก หาแนวทางใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีคนทำมาก่อน หรือไม่ตรงกับวิธีคิดที่ใช้กันอยู่ หมวกสีฟ้า คิดรอบด้าน มองภาพรวม เสนอข้อสรุป ลงมติ
แบบฝึกหัดคิดแบบสวมหมวก ๖ ใบ ประชุมกลุ่ม เพื่อเรียนจากการฝึกหัด เรื่อง … จัดระบบการอยู่หอเพื่อความสุขและการเรียนรู้ทักษะชีวิต แต่ละกลุ่มเลือก group facilitator ทำหน้าที่ดำเนินการ ลปรร. ให้ทุกคนได้ออกความเห็น แต่ละกลุ่มเลือกผู้นำเสนอในกลุ่มใหญ่ เลือก “ผู้สังเกต” (observer) บรรยากาศของการ ลปรร. ของการคิด
แบบฝึกหัดคิดแบบสวมหมวก ๖ ใบ ใช้เวลาประชุม ๔๐ นาที สวมหมวกทีละใบ แล้วพูดคนละ ๑ ประโยค (ไม่อธิบาย) อาจพูด ๑ – ๒ รอบ แล้ว facilitator สรุป สวมหมวกสีต่อไป Facilitator สรุปสาระของการประชุม ผู้สังเกตการณ์สรุปว่าเห็นภาพการคิดเชิงวิพากษ์อย่างไร
เรียนทั้งห้อง นำเสนอผลการประชุมแต่ละกลุ่ม นำเสนอข้อสังเกต บรรยากาศการคิดเชิงวิพากษ์ในแต่ละกลุ่ม ลปรร. การเรียนรู้เรื่องการคิดเชิงวิพากษ์จากการประชุมกลุ่ม ใช้ประสบการณ์สอนตนเอง ทำให้ตนเองเรียนรู้วิธีคิด สรุป
สรุป ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต สอนตัวเอง เรียนจากประสบการณ์ตรง ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต สอนตัวเอง เรียนจากประสบการณ์ตรง มีทักษะ (skill) ในการเรียนรู้ เคารพตนเอง เคารพผู้อื่น เคารพสังคม ความอ่อนน้อมถ่อมตน เป็น “แก้วพร่องน้ำ” ไม่ยึดมั่นถือมั่นในความคิด ความเชื่อ ของตน