Competency of Pharmacists Prescription Screening (การคัดกรองใบสั่งยา) Thanakorn Sirisamut Sep 26, 2007
อะไรคือ “การคัดกรองใบสั่งยา ??” การคัดกรองใบสั่งยา คือ กระบวนการตรวจสอบ ความสมบูรณ์ และ ความถูกต้อง ของใบสั่งยา เป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญเทียบเท่า การตรวจสอบยา เป็นขั้นตอนที่ช่วย ดักจับ สกัด ความผิดพลาดที่มีในใบสั่งยา ก่อนที่ใบสั่งยานั้นจะถูกนำไปบันทึกรายการยา จัดยา ตรวจสอบ และส่งมอบ หากการ คัดกรองใบสั่งยา ทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะสามารถลดภาระงาน และความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในขั้นตอนถัด ๆ ไปได้
“การคัดกรองใบสั่งยา ??” ไม่ใช่แค่ การตรวจสอบว่า แพทย์เขียนรายการยาครบหรือไม่ ขาดจำนวนยาหรือเปล่า ? ไม่ใช่แค่ การเขียนถามแพทย์ว่า ยาที่สั่งมา อ่านว่าอะไร ?? ไม่ใช่แค่ การเขียนขอ ใบ ย.ว. ใบ ย.ส. ไม่ใช่แค่ การตรวจสอบสิทธิ์ว่า เบิกได้ เบิกไม่ได้ สิทธิ์บัตรทอง ฯลฯ แต่เป็น กิจกรรมที่ใช้หลักความรู้ทางด้านเภสัชศาสตร์ ช่วยแก้ปัญหาเรื่องยาให้กับใบสั่งยานั้น ๆ และผู้ป่วยที่จะได้รับยานั้น ๆ
Prescription .. Completeness; สมบูรณ์ในแง่รายละเอียด ข้อมูลที่ควรจะมี Exactness; ถูกต้อง แม่นยำ ในแง่วิชาการ และความปลอดภัยของผู้ป่วย
Prescription Completeness ความสมบูรณ์ขององค์ประกอบของรายละเอียดในใบสั่งยา เช่น ชื่อสกุล H.N. ของผู้ป่วย วันที่ในใบสั่งยา ความสมบูรณ์ของรายละเอียดของยาที่สั่งใช้ เช่น ชื่อ ความแรง วิธีการบริหารยา จำนวนยา [คำย่อในใบสั่งยา] ความสมบูรณ์ของเอกสารประกอบที่ใช้ในการเบิกยา เช่น ใบ ย.ว., ใบ ย.ส., ใบขออนุมัติการใช้ยาต้านจุลชีพบางชนิด ความสมบูรณ์ของลายเซ็นแพทย์ รหัสแพทย์ สิทธิ์ในการสั่งยานั้น ๆ ของแพทย์
Prescription Exactness Drug allergy; Penicillins, Cephalosporin, Sulfonamides Underlying status; G-6-PD deficiency, Pregnancy, Nursing mother Route of administration; Drugs to be avoided for patient with NG tube Dosage regimen; maximum dose
ปัสสาวะจะมีสีเข้ม (สีโค้ก) ซีด มีไตวายเฉียบพลันได้ G-6-PD deficiency ความบกพร่องของเอนไซม์ที่ใช้เปลี่ยนสารกลุ่มคาร์โบไฮเดรต ให้เป็นพลังงาน (NADPH) ทำให้เม็ดเลือดแดงเปราะ แตกง่ายเวลากินยาบางชนิด เช่น dapsone, sulfonamide ปัสสาวะจะมีสีเข้ม (สีโค้ก) ซีด มีไตวายเฉียบพลันได้ เม็ดเลือดแดงแตก (Hemolysis) ไม่เหมือนกับ เลือดออก (Hemorrhage)
Hemorrhage VS. Hemolysis
พบอะไรจากใบสั่งนี้ ทำอย่างไร ?? Intervention: How to ? กลุ่มเป้าหมายของการ intervention คือ แพทย์ .. การเขียนถาม: สั้น กระชับ ตรงประเด็น สุภาพ มีทางเลือกอื่น ๆ ให้แพทย์ Rx: Cipasid 1X4 OAC Omeprazole 1X1 HS Clarithromycin (250) 1X2 OPC Mucosolvan (30) 2X2 OPC พบอะไรจากใบสั่งนี้ ทำอย่างไร ??
Intervention: How to ? (II) Rx: Cipasid 1X4 OAC Omeprazole 1X1 HS Clarithromycin (250) 1X2 OPC Mucosolvan (30) 2X2 OPC Interaction between cisapride VS clarithromycin Management: เปลี่ยน clarithro ได้หรือไม่ เป็น amoxy/clav, FQs, Cephalosprins etc.
Intervention: How to ? (III) .. แพทย์อาจจะตั้งใจสั่งยาแบบนั้นจริง ๆ .. ผู้ป่วยเคยใช้ยานั้นมาแล้ว และไม่เกิด adverse events และ/หรือแพทย์ monitor ไว้แล้ว หรือ จำเป็นมากที่ต้องใช้ยานั้น เช่น warfarin มี drug interaction เยอะมาก ต้องใช้ แต่ระวัง !! .. เภสัชกรควรแนะนำผู้ป่วยให้ระมัดระวัง สังเกตอาการผิดปกติ แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวเบื้องต้นของผู้ป่วย แต่เน้นว่าอย่าให้ผู้ป่วยตระหนกตกใจ !! จนไม่กล้าใช้ยา ..เก็บหลักฐานการ intervention ไว้อย่างดีกับใบสั่งยา ..
คุณทำได้ .. เชื่อสิ !!
อย่าลืมเด็ดขาด .. ถ้าจะถามว่า - แพ้ยา XXX จะใช้ยา YYY ได้หรือไม่ ? - แพ้ยา ZZZ จะมีโอกาส cross กับยา BB กี่เปอร์เซ็นต์ ? - คำถามเกี่ยวกับเรื่อง ยาที่ต้องระวังการใช้ในผู้ป่วยที่เป็น G-6-PD deficiency โทรสอบถามที่ 9555 เป็นอันดับแรกเสมอ เพื่อคำตอบที่แม่นยำ