Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
เฉลย Lab 10 Loop.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
SCC : Suthida Chaichomchuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
Visual Basic บทที่ 1.
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
เฉลย Lab 9 Decision.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ASP.NET Server Control.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
Chapter 6 Decision Statement
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การทำงานและคำสั่งพื้นฐาน
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ฟังก์ชันเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์. เนื้อหา คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเรียกใช้งานเมท็อดทาง.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
คำสั่งในการ ทำงานเบื้องต้น ของโปรแกรม. คำสั่งประกาศตัวแปร ชนิดของข้อมูล ชื่อตัวแปรที่ 1, ชื่อตัวแปรที่ 2; ตัวอย่าง Double score, total;
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

การประกาศตัวแปรระดับ Form เป็นการประกาศตัวแปรให้สามารถเรียกใช้ได้จากทุก ๆ ส่วนในโปรแกรม ตัวอย่าง การประกาศตัวแปรระดับฟอร์ม

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรระดับ Form ตัวอย่าง รูปแบบ: ชื่อตัวแปร = Expression ***Expression หมายถึงค่าที่ได้จากการคำนวณ ค่าคงที่ หรือตัวแปรอื่น ๆ

การเพิ่มข้อมูลลงใน ListBox ตัวอย่าง: เมื่อกดปุ่ม cmdAddList จะเป็นการเพิ่มข้อมูลดังกล่างลงใน list ชื่อ lstScore ชื่อ List ข้อความที่ต้องการเพิ่มเข้าไปใน list คำสั่ง

การเคลียร์ค่าใน ListBox ใช้คำสั่ง lstScore.Clear เมื่อ lstScore คือ ชื่อ ListBox การเคลียร์ค่าใน TextBox ???  สอนแล้ว

การแปลงข้อมูลจาก TextBox เป็นตัวเลข เป็นการแปลงข้อมูลจาก String เป็น Number ใช้คำสั่ง: เช่น Val(Textbox.Text) แปลงข้อความเป็นตัวเลข CInt(Textbox.Text) เพื่อแปลงไปเป็นจำนวนเต็ม (Integer) CDbl(Textbox.Text) เพื่อแปลงไปเป็นจำนวนจริง (Double) หรือ CDbl(Integer) เป็นการแปลง Integer ไปเป็น Double CInt(Double) เป็นการแปลง Double ไปเป็น Integer Str(Integer หรือ Double) เพื่อแปลงตัวเลขเป็นข้อความ ตัวอย่าง: intSum = intSum + CInt(txtScore.Text) ชื่อ TextBox

การเปลี่ยน Caption ที่ Label ใช้คำสั่ง: ldbOrder.Caption = “นักเรียนคนที่ 1” ldbOrder หมายถึง ชื่อ Label “นักเรียนคนที่ 1” หมายถึง ข้อความที่ต้องการให้ปรากฏ ตัวอย่างอื่น เช่น ldbOrder.Caption = “นักเรียนคนที่ ” & num เมื่อ num คือตัวแปรที่เก็บจำนวนเต็ม และ & ทำหน้าที่เชื่อมข้อความ

คำสั่งที่ใช้ในการเรียก Form อื่น ๆ ตัวอย่าง เรียก Form2 เมื่อกดปุ่ม CmdStart ชื่อ Form

เฉลย Lab 9

ตัวอย่าง Form1

ตัวอย่าง Form2