พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด” เอกภพ(UNIVERSE) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายไว้ว่า “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด”
จักรวาลวิทยาหรือเอกภพวิทยา “การเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ” Cosmology จักรวาลวิทยาหรือเอกภพวิทยา “การเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ” จักรวาลวิทยาเป็นสาขาหนึ่งของ ดาราศาสตร์
ระบบของกาแล็กซีหรือทุกสิ่งทุกอย่างที่ปรากฏอยู่ เอกภพ(UNIVERSE) หมายถึง ระบบของกาแล็กซีหรือทุกสิ่งทุกอย่างที่ปรากฏอยู่ รวมทั้งมวลที่มีคงอยู่และที่แตกดับ
อวกาศ เวลา พลังงานและสสาร เอกภพ(UNIVERSE) อวกาศ เวลา พลังงานและสสาร
เอกภพขยายตัว
“วัตถุเปล่งแสงระหว่างดวงดาว” ควอซาร์(Quasars) “วัตถุเปล่งแสงระหว่างดวงดาว”
กำเนิดเอกภพ “บิกแบง(Big Bang)”
อุณหภูมิลดลงเป็น 1013 เคลวิน กำเนิดเอกภพ หลังบิกแบง 10-6 วินาที อุณหภูมิลดลงเป็น 1013 เคลวิน ควาร์ก(Quark) ซึ่งเป็นอนุภาคมูลฐานเปลี่ยนเป็นโปรตอนและนิวตรอน
อุณหภูมิลดลงเป็น 108 เคลวิน กำเนิดเอกภพ หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิลดลงเป็น 108 เคลวิน โปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสไฮโดรเจนรวมเป็นนิวเคลียสฮีเลียม
อุณหภูมิลดลงเป็น 10,000 เคลวิน กำเนิดเอกภพ หลังบิกแบง 300,000 ปี อุณหภูมิลดลงเป็น 10,000 เคลวิน นิวเคลียสไฮโดรเจนและฮีเลียมดึงอิเล็กตรอนมาอยู่ในวงโคจร
- อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ - การขยายตัวของเอกภพ - อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ
(Edwin Powell Hubble) พ.ศ. 2432 - 2496 เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล (Edwin Powell Hubble) พ.ศ. 2432 - 2496
กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วเพิ่มขึ้นตามระยะห่าง เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วเพิ่มขึ้นตามระยะห่าง
กาแล็กซีไกลเคลื่อนที่เร็วกว่ากาแล็กซีที่ใกล้ เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล กาแล็กซีไกลเคลื่อนที่เร็วกว่ากาแล็กซีที่ใกล้ “เอกภพกำลังขยายตัว”
อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ คืออุณหภูมิของเอกภพในปัจจุบัน ลดเหลือ 2.73 เคลวิน
อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ อาร์โน เพนเซียส และ โรเบิร์ต วิลสัน
อ้างอิง www. darasart.com/spacial_story/universe-shape/main.html www. nfe.go.th/waghor/exhibition/exhi3_3.html