หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
เครื่องเร่งอนุภาค แสงซินโครตรอนและการนำไปใช้
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Conductors, dielectrics and capacitance
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
โมเมนตัมและการชน.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จัดทำโดย ด.ญ.ณัฐวิภา อิสริโยดม ม.2/2 เลขที่ 24
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Electric field line Electric flux Gauss’s law
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ระบบอนุภาค.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด”
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
กาแล็กซีและเอกภพ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
บทที่ 18 Quarks, Leptons & Big Bang 1. การจำ แนกอนุภาคโดยใช้ spin
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ครูศรีไพร แตงอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
พันธะเคมี.
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
อะตอม คือ?.
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces) วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

แรง (Forces) 1. แรง 2. ชนิดของแรง 3. การเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก 4. แรงยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส

4. แรงยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส

ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะโครงสร้างของอะตอมได้ 2. อธิบายลักษณะนิวเคลียสของอะตอมได้ 3. บอกชนิดของอนุภาคนิวคลีออนที่รวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอมได้ 4. อธิบายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคนิวคลีออนในนิวเคลียสของอะตอมได้

4. แรงยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส 1. โครงสร้างของอะตอม 2. เลขมวลและเลขอะตอม 3. ไอโซโทป (isotope) 4. พลังงานยึดเหนี่ยว

Ernest Rutherford (1871-1937) Ernest Rutherford was born on August 30, 1871, in Nelson, New Zealand http://nobelprize.org/chemistry/laureates/1908/rutherford-bio.html

1. โครงสร้างของอะตอม Rutherford และลูกศิษย์ ทดลองยิงแผ่นทองคำเปลว ด้วยอนุภาคแอลฟา (α) ซึ่งมีประจุ + พบว่า อนุภาคแอลฟากระเจิงออกจากอะตอมได้หลายทิศทาง อนุภาคแอลฟาบางตัวสะท้อนกลับทางเดิม บางตัวกระเจิงออกเป็นมุมต่าง ๆ จากการทดลอง เขาได้สรุปว่า อะตอมของทองคำต้อมีนิวเคลียสเป็นแกนกลาง และมีประจุเป็น + อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุ - โคจรเป็นวงรอบนิวเคลียส ต่อมาพบว่า ในนิวเคลียสมีอนุภาคพื้นฐาน 2 ชนิด คือ โปรตรอนมีประจุเป็น + และนิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่า นิวคลีออน (nucleon)

Rutherford's gold foil experiment Caption Rutherford's experiment provided evidence that the positively charged part of the atom consisted of a tiny, dense object at the atom's center. Notes The history of Rutherford's experiment reveals a wonderful example of a careful, scrupulous scientist working hard to remain focused on observation as the basis for his conclusions: It would have been very easy for Rutherford to have dismissed the minor differences between what he saw and what he expected to see.

Rutherford's gold foil experiment http://wps.prenhall.com/wps/media/objects/476/488316/ch04.html

The experiment (Rutherford): http://www.physics.uc.edu/~sitko/CollegePhysicsIII/28-AtomicPhysics/AtomicPhysics.htm

โครงสร้างของอะตอม http://www.enchantedlearning.com/chemistry/glossary/nucleus.shtml

2. เลขมวลและเลขอะตอม เลขอะตอม (atomic number) คือ ตัวเลขที่บอกจำนวนโปรตอน เขียนแทนด้วย Z เลขมวล (mass number) คือ ตัวเลขที่บอกจำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน เขียนแทนด้วย A อะตอมของธาตุใด ๆ เขียนแทนด้วย X เขียนสัญลักษณ์ของธาตุได้ดังนี้

ตัวอย่างเช่น

3. ไอโซโทป (isotope) คือ ธาตุชนิดเดียวกัน มีจำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอนไม่เท่ากัน เช่น ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โปรเทียม (11H) ดิวเทอเรียม (21H) และทริเทียม (31H)

http://education.jlab.org/glossary/isotope.html

E = mc2 4. พลังงานยึดเหนี่ยว การที่โปรตอน รวมกับ นิวตรอน กลายเป็นนิวเคลียสได้ ก็เพราะ อนุภาคเหล่านั้น ดึงดูดกันไว้ ด้วยแรงนิวเคลียร์ แต่ยังไม่มีใครเขียนแรงนิวเคลียร์ขึ้นได้ เราหาได้เพียงพลังงานที่อนุภาคนิวคลีออน ใช้ดึงดูดกัน เรียกว่า พลังงานยึดเหนี่ยว (binding energy) ซึ่งเกิดจากมวลส่วนหนึ่งของนิวคลีออนกลายเป็นพลังงาน เราสามารถหาพลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียร์จากสมการของ ไอน์สไตน์ ที่ว่า E = mc2

E = mc2 เมื่อ E = พลังงาน (J) m = มวล (kg) c = ความเร็วแสง (c = 3 x 108 m/s) ส่วนมากมวลของอนุภาคต่าง ๆ และนิวเคลียสมีหน่วยเป็น u ซึ่ง 1u = 1.66 x 10-27 kg เมื่อ 1u คำนวณหาพลังงาน จะได้ 931 Mev (อ่าน Mev ว่า เมกะอิเล็กตรอนโวลต์) ซึ่งของ 1 Mev = 1.6 x 10-13 J

The Binding Energy of a Nucleus http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/nuclearphysics/nuclearphysics.html

Albert Einstein (1879-1955) Albert Einstein (March 14, 1879 – April 18, 1955) was a German-born American theoretical physicist who is widely regarded as the greatest scientist of the 20th century. He proposed the theory of relativity and also made major contributions to the development of quantum mechanics, statistical mechanics, and cosmology. He was awarded the 1921 Nobel Prize for Physics for his explanation of the photoelectric effect and "for his services to Theoretical Physics". http://www.mlahanas.de/Physics/Bios/AlbertEinstein.html

ตัวอย่างแบบฝึกหัด 1. จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวดิวเทอเรียม (21H) กำหนดให้มวลของ มวลของโปรตอน และมวลของนิวตรอน (2.22 MeV)

References พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 262 หน้า. http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/nuclearphysics/nuclearphysics.html

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Department of science St. Louis College Chachoengsao