ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
SMART Disclosure Program
สำนักงานตรวจสอบภายใน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
อุทธรณ์.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิชาว่าความและ การถามพยาน
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การตรวจการสหกรณ์
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์

หลักเกณฑ์การจัดมาตรฐานสหกรณ์
การตรวจสอบด้านการเงิน
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การเข้าร่วมประชุมกับ สหกรณ์ แชร์ล๊อตเตอรี่ สหกรณ์ออม ทรัพย์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สาเหตุ : สหกรณ์ออมทรัพย์มีสภาพ คล่องมาก.
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
พระราชบัญญัติการโฆษณา
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านแสงอรุณ จำกัด
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ธนาคารของรัฐบาล ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
PRT บริษัท ภูรีภาค จำกัด “แก่นแท้ของ พรบ. คุ้มครองแรงงานที่ควรรู้”
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
กฎหมาย ระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิต
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์ ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์ โดย สุรศักดิ์ นาคสวัสดิ์ 20 สิงหาคม 2556

การตรวจการสหกรณ์ ความหมาย : สอดส่อง ดูแล เฝ้าระวัง ให้การดำเนินงานของสหกรณ์ถูกต้อง เจตนารมณ์ : ให้มีผู้ใช้อำนาจรัฐตรวจสอบความถูกต้อง ชอบธรรม การดำเนินงานของสหกรณ์ เพื่อประโยชน์สมาชิก ชุมชน และสังคม เรียกผู้ใช้อำนาจนี้ว่า “ผู้ตรวจการสหกรณ์” ที่มาผู้ตรวจการสหกรณ์ : นายทะเบียนสหกรณ์หรือรองนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ได้รับมอบหมายแต่งตั้ง

บทบาทผู้ตรวจการสหกรณ์ สอดส่อง ดูแล การดำเนินการของสหกรณ์ให้มีความถูกต้องชอบธรรม ด้วยการ  ไม่ให้กระทำการที่มิใช่อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์  ไม่ให้กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายข้อบังคับสหกรณ์  ไม่ให้กระทำการขัดต่อความสงบเรียบร้อย และศีลธรรมอันดี  ไม่ให้กระทำการที่ไม่ชอบธรรมกับสมาชิก  เมื่อมีความไม่ชอบเกิดขึ้นกับสหกรณ์ ต้องเสนอแนะให้ นายทะเบียนสหกรณ์ใช้อำนาจสั่งแก้ไข

อำนาจหน้าที่ผู้ตรวจการสหกรณ์  ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์  ตรวจสอบฐานะการเงินของสหกรณ์  เงื่อนไขการตรวจสอบ ตามที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด  รายงานผลการตรวจสอบต่อนายทะเบียนสหกรณ์

เครื่องมือการใช้อำนาจของผู้ตรวจการ (1) สอบสวนบุคคล (2) เรียกเอกสารและรายงานการประชุม (3) เข้าไปในสำนักงานสหกรณ์ (4) บุคคลใดไม่ให้ความร่วมมือ หรืออำนวยความสะดวก มีความผิดทางอาญา

ความรับผิดของผู้ตรวจการสหกรณ์ (1) ขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน ซึ่งสั่งการตามอำนาจที่มีกฎหมายให้ไว้ (2) ไม่รักษาวินัยข้าราชการ (3) เป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด (4) เป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต

ผู้ตรวจการสหกรณ์ต้องทำอย่างไร เมื่อตรวจพบว่าสหกรณ์ปฏิบัติไม่ชอบ (1) คณะกรรมการดำเนินการกระทำการหรืองดเว้นกระทำการ ในการปฏิบัติหน้าที่ของตน จะทำให้เสื่อมเสียผลประโยชน์ สหกรณ์หรือสมาชิก หรือ (2) สหกรณ์มีข้อบกพร่องเกี่ยวกับกิจการ หรือฐานะการเงิน

ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการสหกรณ์ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ใช้อำนาจสั่งการได้อย่างหนึ่งอย่างไรดังนี้ (1) แก้ไขความบกพร่องตามวิธีการ และกำหนดเวลาตามความเหมาะสม (2) ให้คณะกรรมการระงับการปฏิบัติส่วนที่เป็นเหตุข้อบกพร่อง หรือเสื่อมเสียผลประโยชน์ (3) ให้คณะกรรมการหยุดปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราว เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง (4) ให้คณะกรรมการพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะหรือรายตัว

พบความไม่ชอบกรณีอื่นๆ (1) การลงมติอันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ของสหกรณ์ ระเบียบ คำสั่ง ของนายทะเบียนสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ ขอให้นายทะเบียนสหกรณ์ หรือรองนายทะเบียน สหกรณ์ยับยั้งหรือเพิกถอนมตินั้น (2) ในกรณีกรรมการ ผู้จัดการ หรือเจ้าหน้าที่สหกรณ์ทำให้ สหกรณ์เสียหาย ถ้าสหกรณ์ไม่ร้องทุกข์หรือฟ้องคดี ข้อเสนอแนะ ขอให้นายทะเบียนสหกรณ์หรือรองนายทะเบียน สหกรณ์ ร้องทุกข์หรือฟ้องคดีแทน

ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจพบความไม่ชอบ เรื่องเหล่านี้หรือไม่? ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจพบความไม่ชอบ เรื่องเหล่านี้หรือไม่? (1) การใช้เงินของสหกรณ์ไม่เป็นไปตามมติที่ประชุมใหญ่ (2) การใช้เงินของสหกรณ์ฝากหรือลงทุนไม่ชอบด้วยกฎหมาย (3) การดำเนินการของสหกรณ์ไม่เป็นไปตามหลักการสหกรณ์ (4) ดำเนินกิจการนอกขอบเขตวัตถุประสงค์ และอำนาจกระทำการ ของสหกรณ์

ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจพบความไม่ชอบ เรื่องเหล่านี้หรือไม่? ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจพบความไม่ชอบ เรื่องเหล่านี้หรือไม่? (5) ไม่ร้องทุกข์หรือฟ้องคดีกับบุคคลที่ทำให้สหกรณ์เสียหาย (6) มีเจตนากระทำหรือละเว้นกระทำโดยทุจริต (7) มีเจตนากระทำหรือละเว้นกระทำโดยฝ่าฝืนกฎ (8) ปล่อยให้สหกรณ์มีคณะกรรมการรักษาการโดยไม่ชอบ (9) สหกรณ์รับผิดในความเสียหาย โดยการกระทำไม่ชอบของ คณะกรรมการ

ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจพบความไม่ชอบ เรื่องเหล่านี้หรือไม่? ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจพบความไม่ชอบ เรื่องเหล่านี้หรือไม่? (10) คณะกรรมการประชุมพิจารณาเรื่องที่มีผลประโยชน์ขัดกัน (11) คณะกรรมการไม่ปฏิบัติต่อผู้จัดการ หรือเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ตามหลักกฎหมายว่าด้วยคุ้มครองแรงงาน (12) ตรวจพบว่ามีความไม่ชอบ แต่ปกปิดหรือช่วยปกปิด หรือช่วยแก้ต่างให้ หรือบิดเบือน

ขอบคุณ และ สวัสดีครับ