การพัฒนาเศรษฐกิจไทย ในศตวรรษหน้า, 2010s ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง การสัมมนาวิชาการ 100 ปี ศาสตราจารย์ บุญชนะ อัตถากร “การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในรอบศตวรรษที่ผ่านมาและในอนาคต” ห้องประชุม จีระ บุญมาก สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ 15 กรกฎาคม 2553
ประเด็น การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก ระหว่าง 1989 -2009 โลกปัจจุบันและแนวโน้ม ความท้าทายต่อเศรษฐกิจไทย การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต
1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลกระหว่าง 1989 -2009 1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลกระหว่าง 1989 -2009 โลกมีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี 1989 – 2009 ที่ส่งผลให้โครงสร้างและสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญ 1989 --- มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญ ที่ทำให้เกิดโลกาภิวัตน์อย่างแท้จริง กุมภาพันธ์ – โซเวียต ถอนทหารจากอัฟกานิสถาน Taliban เป็น Cell ใหญ่ของการก่อการร้ายสากล มีนาคม – เกิด Internet (WWW) โดย Tim Berners-Lee เกิด Cyber State Cyber State Nation State Corporate State
1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก (ต่อ) มิถุนายน – การปราบจราจลเทียนอันเหมิน จีนมุ่งเน้นเศรษฐกิจระบบตลาด กลายเป็น “Factory of the World” กันยายน – เวียดนามถอนทหารจากกัมพูชา GMS มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจในภูมิภาค พฤศจิกายน – ทลายกำแพงเบอร์ลิน ยุติสงครามเย็น ประเทศสังคมนิยม และที่มี State Capitalism ปรับสู่เศรษฐกิจ ระบบตลาด โลกเข้าสู่เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมเต็มรูปแบบ
1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก (ต่อ) 1991 - มีประเทศเข้าสู่ตลาดโลกเพิ่มขึ้น สหภาพโซเวียต ล่มสลาย กลุ่ม CLMV เข้าร่วมเศรษฐกิจโลก อินเดียปฏิรูปเศรษฐกิจด้วยการเปิดเสรี และคลายกฎข้อบังคับ อินเดียและประเทศอื่นๆในเอเชียใต้เข้าสู่ตลาดโลกมากขึ้น ทศวรรษ 1990 – ยุคเศรษฐกิจเฟื่องฟูและวิกฤติการเงินใน เอเชีย วิกฤติการเงินในปี 1997/98 ทำให้ธุรกิจในเอเชียมีความ ระมัดระวัง และลดความเสี่ยง เริ่มได้รับประโยชน์จากโลกาภิวัตน์เต็มที่และต่อเนื่อง
1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก (ต่อ) 2000 - จุดเริ่มต้นของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจโลกพึ่งการผลิตจากกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา และพึ่งตลาด + บริการการเงิน จากประเทศตะวันตกเป็นหลัก สหรัฐ – ภาคเอกชนบริโภคเกินฐานะ และภาครัฐใช้จ่ายเกินรายได้ เอเชียผลิต + ออม มาก สหรัฐฯขาดดุลกับเอเชีย + ตะวันออกกลาง 2001 – เหตุการณ์ 9/11 ทำให้การก่อการร้ายสากลเป็นกระแสการเมืองใหม่ สหรัฐฯให้ความสำคัญกับนโยบายต่อต้านการก่อร้ายสากล สงครามในอิรักและอัฟกานิสถาน ทำให้ค่าใช้จ่ายภาครัฐของสหรัฐขยายตัว ผู้ผลิตในเอเชียได้ประโยชน์
1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก (ต่อ) การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของสหรัฐกับประเทศคู่ค้าสำคัญ ที่มา: Bureau of Economic Analysis, US Department of Commerce
1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก (ต่อ) 2008 - วิกฤติสถาบันการเงินในสหรัฐ การล้มของสถาบันการเงินชั้นนำตั้งแต่ Bear Sterns (3/14), Lehman Brothers (9/15), AIG (9/17), ฯลฯ ระบบการเงินโลกปั่นป่วนและเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกครั้ง ใหญ่ 2009 – ปีแห่งการถดถอยของเศรษฐกิจโลก หลาย ประเทศมุ่งเน้นการเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐและใช้นโยบาย การเงินผ่อนคลายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เศรษฐกิจโลกเปลี่ยนทิศทาง ทำให้เอเชียมีบทบาท มากขึ้น
2. โลกปัจจุบันและแนวโน้ม 2010 – เศรษฐกิจโลกยังมีปัญหา เศรษฐกิจเอเชียเพิ่ม ความสำคัญ เอเชียมีสัญญาณการฟื้นตัวที่ดี เศรษฐกิจสหรัฐยังฟื้นตัวอย่างช้าๆ ยุโรปบางประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มPIIGGS กำลังเผชิญวิกฤติ หนี้สาธารณะ เศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยง เอเชียมีอนาคตที่สดใสกว่า เศรษฐกิจเอเชียเริ่มมีขนาดเทียบเท่าอเมริกาเหนือ และ EU มีการค้าการลงทุนระหว่างประเทศในเอเชีย มี FTAs / EPAs ระหว่างประเทศในเอเชีย และกับ ประเทศอื่น ช่วยส่งเสริมการค้าการลงทุน
2. โลกปัจจุบันและแนวโน้ม (ต่อ) แนวโน้มโลก --- นอกจากความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ ยังมี ข้อจำกัดด้านอื่นๆ ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาใน 20 ปี ที่ผ่านมา การผลิตและบริโภคที่ขยายตัวสูงในอดีต ส่งผลต่อการเสื่อมสภาพ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ/สังคมอุตสาหกรรม นำไปสู่ปัญหามลพิษ และ ภาวะโลกร้อน ธุรกิจต้องมีการจัดการดูแลเรื่องมลพิษ ส่งผลให้ต้นทุน เพิ่มขึ้น ความผันผวนในภาคการเงินโลก + การขยายตัวของหนี้ สาธารณะ กลายเป็นความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อระบบ เศรษฐกิจโลก ต้นทุนทางการเงินสูงขึ้น
2. โลกปัจจุบันและแนวโน้ม (ต่อ) การพึ่งพิงพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel) แหล่งอุปทานของ Fossil fuel จำนวนมากอยู่ในเขตพื้นที่ที่มี ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองสูง ความพยายามหาแหล่ง Fossil fuel จากแหล่งอื่น โดยเฉพาะ ทางทะเล ก็มีปัญหา โดยเฉพาะเหตุการณ์น้ำมันรั่วล่าสุดในอ่าว เม็กซิโก การใช้พลังงานทดแทนจากแหล่งอื่นๆ ยังมีข้อจำกัดและมี ต้นทุนสูง จะไม่สามารถลดการพึ่งพา fossil fuel ลงต่ำกว่า 75% ได้ภายใน 10 ปี ปัจจัยด้านน้ำมันจะถ่วงการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ดังนั้น เศรษฐกิจโลก จะอยู่ใน slow growth mode แต่เอเชียรวม Russia และ Brazil เป็นพลังเศรษฐกิจใหม่ ในโลก
3. ความท้าทายต่อเศรษฐกิจไทย โลกจะมีปัญหาหลากหลายและจะอยู่ใน Slow growth Mode ประเทศไทยจะพึ่งภาคส่งออก ได้น้อยลง และจะเผชิญข้อจำกัดเช่นเดียวกัน มลภาวะจากภาคอุตสาหกรรม --- กรณีมาบตาพุด แสดงให้เห็นว่า อุตสาหกรรมต้องได้รับการยอมรับ จากชุมชน / สังคมจึงจะขยายตัวได้ การจะลด / เลิก อุตสาหกรรม ทำได้ยาก เพราะ ต้องพึ่งพาในเรื่องการจ้างงาน ภาคธุรกิจจะมีต้นทุนสูงขึ้นจากการต้องดูแล มลภาวะ ทำให้ความสามารถในการแข่งขันลดลง
3. ความท้าทายต่อเศรษฐกิจไทย (ต่อ) ความผันผวนจากภาคการเงินโลก + ปัญหาหนี้สาธารณะ กระทบตลาดการเงินในประเทศ / อัตราแลกเปลี่ยน และ Capital flows ผันผวน ภาครัฐจะเริ่มมีข้อจำกัดด้านงบประมาณ การพึ่งพา fossil fuel และข้อจำกัดจากพลังงานทดแทน ราคาน้ำมันจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประเทศไทยจะโตมากกว่า 5% ใน 10 ปีข้างหน้า เป็นไปได้ยาก ปัจจัยช่วยเศรษฐกิจไทย คือโอกาสการทำธุรกิจกับ Asia/Pacific และตะวันออกกลาง
3. ความท้าทายต่อเศรษฐกิจไทย (ต่อ) เมื่อเศรษฐกิจไทยโตมากกว่า 5% ได้ยาก จะส่งผลให้การ ลดปัญหาความยากจนทำได้ลำบากขึ้น เศรษฐกิจต้องมีการขยายตัว โดยต้องจัดสรรทุนและ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ต้องให้ความสำคัญเรื่องความเท่าเทียม (Equity) มากขึ้น ฐานะการเงินการคลังของประเทศยังดีพอที่จะใช้เพื่อการ ลงทุนให้เกิดการขยายตัวอย่างมีคุณภาพได้
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ขยายตัวมาดีพอสมควร ด้วยนโยบายและยุทธศาสตร์ดังนี้ 1980s ส่งเสริมส่งออก ท่องเที่ยว ลงทุน 1990s พัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานโดยเงินกู้จากต่างประเทศ วิกฤติการเงินและเศรษฐกิจ 1997/98 2000s ยังส่งเสริมส่งออก ท่องเที่ยว ลงทุน โดยเพิ่มเน้นการมี ข้อตกลงทางการค้า/เศรษฐกิจ (FTAs, EPAs) กับ ประเทศใน Asia และอื่นๆ มีปัญหาการเติบโตไม่ต่อเนื่อง เพราะขาดการลงทุน และการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง 2010s ?
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) การแก้ปัญหาระยะสั้น ความสำคัญสูงของภาคอุตสาหกรรม จำเป็นต้อง ดูแลและจัดการปัญหามลภาวะจากภาคอุตสาหกรรม มีระบบการบริหารจัดการให้อุตสาหกรรมเป็นที่ยอมรับแก่ชุมชน/สังคม เริ่มจัดระบบ Eco-industrial estate, eco-town ส่งเสริมธุรกิจดูแลสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรม แก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่เหมาะสมกับระดับอุตสาหกรรมในปัจจุบัน
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน Supply side เกษตร, ประมง, ปศุสัตว์ อาหาร โดยจัด traceability พลังงาน (มันสำปะหลัง, อ้อย) รูปแบบ plantation วัตถุดิบอุตสาหกรรม (ยาง, น้ำมันปาล์ม) ฟาร์มประมง ไก่, หมู, โคขุน, โคนม
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) อุตสาหกรรม ต่อยอดอุตสาหกรรมปัจจุบันด้วย innovation, R+D/(automotive, construction materials, etc.) ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่เชื่อมกับภาคเกษตรและบริการ อาหารแปรรูป พลังงานจากพืช Rubber-based industries อุตสาหกรรมผลิตสินค้าสำหรับธุรกิจ hospitality + wellness อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) บริการ ลงทุน/พัฒนา ระบบขนส่ง และ โทรคมนาคม + logistics มุ่งส่งเสริม/พัฒนา ธุรกิจในกลุ่ม hospitality และ wellness พัฒนา Culture industries สู่ Creative industries
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) Demand side การส่งออก/ท่องเที่ยว ยังคงบทบาทสำคัญ โดย โอกาสใหม่จากเอเชียและตะวันออกกลาง การลงทุน โดยภาครัฐและเอกชน ประมาณ 25% ของรายได้ประชาติ ส่งเสริมการบริโภคสินค้าและบริการในประเทศ โดย ส่งเสริม modern trade
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) นโยบายเศรษฐกิจมหภาค รักษาวินัยทางการคลังตามกฎ/ระเบียบเดิม เปิดเสรีตลาดเงิน/ตลาดทุน/ตลาดประกันภัย ตามแผนพัฒนาที่มีอยู่แล้ว ดำเนินการเข้าสู่ AEC และเสริมสร้างความสมบูรณ์ของ FTAs /EPAs ที่มีอยู่ รวมทั้งแสวงหาผลการทำข้อตกลงทางการค้าใหม่ กับตะวันออกกลาง สหรัฐ และรัสเซีย
4. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต (ต่อ) นโยบายราคา/และรายได้ พัฒนาระบบการแข่งขันทางการค้า (Competition Regime) เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพและความเป็น ธรรมของเศรษฐกิจระบบตลาด กำหนดค่าจ้างขั้นต่ำที่เป็นธรรม แทรกแซงการค้าสินค้าเกษตรด้วยการประกันรายได้