นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

ผศ. วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary System)
การเลือกตั้ง (Election)
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
YOUR SUBTITLE GOES HERE
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
Preparation for Democratic Citizen
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
การบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
สถาบันการเมืองการปกครอง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ระบบรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ อาจารย์สุมาลี มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

แนวคิดเรื่องการแบ่งแยกอำนาจ การแบ่งแยกหน้าที่ การตรวจสอบอำนาจ การถ่วงดุลอำนาจ Charles de Secondat, baron de Montesquieu การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

สถาบันนิติบัญญัติ (Legislature) รัฐสภา ทำหน้าที่ตรวจสอบรัฐบาลและออกกฎหมาย การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

สถาบันบริหาร (Executive) รัฐบาล ทำหน้าที่บริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

สถาบันตุลาการ (Judiciary) ศาล ทำหน้าที่ในด้านความยุติธรรม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

สถาบันนิติบัญญัติ : หน้าที่ ออกกฎหมาย คุ้มครองรักษาสิทธิเสรีภาพ ควบคุมฝ่ายบริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

พัฒนาการสถาบันนิติบัญญัติ Great Council Parliament การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบสถาบันนิติบัญญัติ Unicameral 1 Bicameral 2 การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ลักษณะความแตกต่างของระบบสถาบันนิติบัญญัติ หน้าที่ โครงสร้าง วาระ การเข้าสู่ตำแหน่ง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบอังกฤษ

ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบอังกฤษ House of Lords Lord Spiritual Lord Temporal House of Commons Members of Parliament (MPs) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง House of Lords ที่มา แต่งตั้ง วาระ ไม่มีวาระ ไม่มีการยุบ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง House of Commons ที่มา เลือกตั้ง วาระ 5 ปี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบสหรัฐอเมริกา The Senate The House The Congress การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบสหรัฐอเมริกา A Separation of power B Check and balance การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง The Senate ที่มา เลือกตั้งจากแต่ละรัฐ รัฐละ 2 คน วาระ 6 ปี เลือกทุกๆ 2 ปี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง The House ที่มา เลือกตั้งเขตเลือกตั้งในมลรัฐต่างๆ เขตละ 1 คน วาระ 2 ปี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ประธานาธิปดี+นายกรัฐมนตรี รูปแบบฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรี ประธานาธิปดี ประธานาธิปดี+นายกรัฐมนตรี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง สถานะของฝ่ายบริหาร ประมุขของ ฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรี ประธานาธิปดี ประมุขของประเทศ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

อำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหาร บริหารประเทศ การคงอยู่/จัดระเบียบรัฐ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

อำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหาร (UK) ยุบสภา รับผิดชอบต่อรัฐสภา การริเริ่ม/กำหนดนโยบาย ปรับปรุง/กำหนดวิธีการบริหารราชการ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รัฐบาลแบบอังกฤษ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รับผิด ชอบร่วมกัน คณะรัฐมนตรีรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภา มติ ครม. มีผลผูกพัน รมต. ทุกคน การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

อำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหาร (US) ริเริ่มนโยบายของรัฐบาล นโยบายทางนิติบัญญัติ ควบคุมข้าราชการ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ถอดถอนเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร

อำนาจหน้าที่ของสถาบันตุลาการ 1 พิพากษาอรรถคดี 2 ตีความรัฐธรรมนูญ ตีความกฎหมาย 3 กำหนดกฎเกณฑ์ในกระบวนการยุติธรรม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ความสำคัญของผู้พิพากษาและศาล อำนวยความยุติธรรม ปกป้อง รักษาเสรีภาพ

การจัดตั้งองค์การฝ่ายตุลาการ เกิดความสะดวกแก่คู่กรณี สรรหาให้มีผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย

ขั้นตอนการพิจารณาของศาล 1 ศาลชั้นต้น Court of original jurisdiction 2 ศาลอุทธรณ์ Appellate court 3 ศาลฎีกา/ศาลสูง Supreme Court

ความเชื่อมั่นต่อระบบศาล หน่วยงานราชการที่ปลอดการเมือง

ความเป็นกลางของผู้พิพากษา อิสระจากแรงกดดันทางการเมือง พื้นฐานของข้อเท็จจริง การโต้แย้งที่ชอบด้วยกฎหมาย ความดีของบุคคล