นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ อาจารย์สุมาลี มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
แนวคิดเรื่องการแบ่งแยกอำนาจ การแบ่งแยกหน้าที่ การตรวจสอบอำนาจ การถ่วงดุลอำนาจ Charles de Secondat, baron de Montesquieu การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
สถาบันนิติบัญญัติ (Legislature) รัฐสภา ทำหน้าที่ตรวจสอบรัฐบาลและออกกฎหมาย การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
สถาบันบริหาร (Executive) รัฐบาล ทำหน้าที่บริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
สถาบันตุลาการ (Judiciary) ศาล ทำหน้าที่ในด้านความยุติธรรม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
สถาบันนิติบัญญัติ : หน้าที่ ออกกฎหมาย คุ้มครองรักษาสิทธิเสรีภาพ ควบคุมฝ่ายบริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
พัฒนาการสถาบันนิติบัญญัติ Great Council Parliament การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบสถาบันนิติบัญญัติ Unicameral 1 Bicameral 2 การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ลักษณะความแตกต่างของระบบสถาบันนิติบัญญัติ หน้าที่ โครงสร้าง วาระ การเข้าสู่ตำแหน่ง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบอังกฤษ
ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบอังกฤษ House of Lords Lord Spiritual Lord Temporal House of Commons Members of Parliament (MPs) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง House of Lords ที่มา แต่งตั้ง วาระ ไม่มีวาระ ไม่มีการยุบ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง House of Commons ที่มา เลือกตั้ง วาระ 5 ปี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบสหรัฐอเมริกา The Senate The House The Congress การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบสถาบันนิติบัญญัติแบบสหรัฐอเมริกา A Separation of power B Check and balance การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง The Senate ที่มา เลือกตั้งจากแต่ละรัฐ รัฐละ 2 คน วาระ 6 ปี เลือกทุกๆ 2 ปี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง The House ที่มา เลือกตั้งเขตเลือกตั้งในมลรัฐต่างๆ เขตละ 1 คน วาระ 2 ปี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ประธานาธิปดี+นายกรัฐมนตรี รูปแบบฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรี ประธานาธิปดี ประธานาธิปดี+นายกรัฐมนตรี การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง สถานะของฝ่ายบริหาร ประมุขของ ฝ่ายบริหาร นายกรัฐมนตรี ประธานาธิปดี ประมุขของประเทศ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
อำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหาร บริหารประเทศ การคงอยู่/จัดระเบียบรัฐ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
อำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหาร (UK) ยุบสภา รับผิดชอบต่อรัฐสภา การริเริ่ม/กำหนดนโยบาย ปรับปรุง/กำหนดวิธีการบริหารราชการ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รัฐบาลแบบอังกฤษ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รับผิด ชอบร่วมกัน คณะรัฐมนตรีรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภา มติ ครม. มีผลผูกพัน รมต. ทุกคน การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
อำนาจหน้าที่ของฝ่ายบริหาร (US) ริเริ่มนโยบายของรัฐบาล นโยบายทางนิติบัญญัติ ควบคุมข้าราชการ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ถอดถอนเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร
อำนาจหน้าที่ของสถาบันตุลาการ 1 พิพากษาอรรถคดี 2 ตีความรัฐธรรมนูญ ตีความกฎหมาย 3 กำหนดกฎเกณฑ์ในกระบวนการยุติธรรม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ความสำคัญของผู้พิพากษาและศาล อำนวยความยุติธรรม ปกป้อง รักษาเสรีภาพ
การจัดตั้งองค์การฝ่ายตุลาการ เกิดความสะดวกแก่คู่กรณี สรรหาให้มีผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย
ขั้นตอนการพิจารณาของศาล 1 ศาลชั้นต้น Court of original jurisdiction 2 ศาลอุทธรณ์ Appellate court 3 ศาลฎีกา/ศาลสูง Supreme Court
ความเชื่อมั่นต่อระบบศาล หน่วยงานราชการที่ปลอดการเมือง
ความเป็นกลางของผู้พิพากษา อิสระจากแรงกดดันทางการเมือง พื้นฐานของข้อเท็จจริง การโต้แย้งที่ชอบด้วยกฎหมาย ความดีของบุคคล