ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
Advertisements

Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
(Structure of the Earth)
and Sea floor spreading
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
ผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหว
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สภาวะ ปกติ เอ นิโญ่ ลา นิญ่า คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ.
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
กาแล็กซีและเอกภพ.
ส่วนวิศวกรรมธรณี สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
แผ่นดินไหว Earthquakes
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
ดินถล่ม.
การระเบิด Explosions.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
แผ่นดินไหว (Earthqua ke) ขนาด ( ริกเตอร์ ) ความ รุนแรง ( เมร์กัลลี่ ) น้อยกว่า 3.0 I - II ประชาชนไม่รู้สึก ใช้ชีวิตตามปกติ ตรวจวัดได้เฉพาะ เครื่องมือ.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การหักเหของแสง (Refraction)
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค
Earth’s internal processes กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
ผู้หาข่าว  นายสีชาด หนุน พระเดช ข่าวความเป็นมา  ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุง ปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร ( หรือ 16 ไมล์ ) โดยแผ่นดินไหว.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault

อินเดีย 26 มกราคม 2544, M 7.7 Kachchh Mainland Fault

อินเดีย 26 มกราคม 2544, M 7.7 Kachchh Mainland Fault

17 มกราคม 2538 M 7.2 Nojima Fault

สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว เกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน เนื่องจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในเปลือกโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลย์ของโลกให้เข้าที่ ส่งผลให้แผ่นดินแตก และเคลื่อนออกจากกัน ซึ่งเรียกว่า รอยเลื่อน (Fault) นอกจากนี้มาจาก ขบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด หรืออุกกาบาตตกกระแทกผิวโลก และเกิดจาก การกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ หรือการเก็บกักน้ำเหนือเขื่อน

* KOBE Epicenter N

พ.ศ.2088 ที่เชียงใหม่ ยอดเจดีย์หลวงหัก

รอยเลื่อนแม่กวง รอยเลื่อนแม่ทา

รอยเลื่อนปัว

รอยเลื่อนเถิน กม.28 ถนนลำปาง - แม่เมาะ

1957 Gobi-Attay Earthquake, Bogd Fault

San Andreas Fault, USA

ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ระนาบรอยเลื่อน จุดกำเนิดแผ่นดินไหว รูปแบบของคลื่นแผ่นดินไหว ศูนย์กลางแผ่นดินไหว จุดกำเนิดแผ่นดินไหว ระนาบรอยเลื่อน เปลือกโลกเลื่อนขาดออกจากกัน ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่น

(ศูนย์กลางแผ่นดินไหว) (จุดกำเนิดแผ่นดินไหว)

แผ่นเปลือกโลก เนื้อโลก ใจกลางโลก

เปลือกทวีป เปลือกสมุทร

แผ่นเปลือกโลก

รอยต่อแผ่นเปลือกโลก เคลื่อนที่ออกจากกัน เคลื่อนที่สวนกัน เคลื่อนที่เข้าหากัน

เปลือกสมุทร-เปลือกทวีป เปลือกสมุทร-เปลือกสมุทร เคลื่อนที่สวนกัน ของเปลือกทวีป เปลือกทวีป-เปลือกทวีป

กระแสการพาความร้อน (Convection currents)

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (ซม./ ปี)

วงแหวนไฟ

ชนิดของรอยเลื่อน หน้าผารอยเลื่อน แนวรอยเลื่อน รอยเลื่อนแนวราบ ศูนย์กลางแผ่นดินไหว จุดกำเนิดแผ่นดินไหว รอยเลื่อนปกติ ระนาบรอยเลื่อน รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ

รอยเลื่อนซ้ายเข้า รอยเลื่อนขวาเข้า

รอยเลื่อนแม่จัน

ความร้ายแรงของแผ่นดินไหว (The Severity of an Earthquake) ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (Intensity) ขึ้นอยู่กับผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อความรู้สึกของคน ต่อความเสียหายของอาคารและสิ่งก่อสร้าง และต่อสิ่งของธรรมชาติต่าง ๆ ความรุนแรงจะมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละแห่งที่ถูกรบกวน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของผู้สังเกตว่าอยู่ห่างไกลจากตำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter) มากน้อยเพียงใด

ขนาดของแผ่นดินไหว (Magnitude) เกี่ยวข้องกับปริมาณของพลังงานซึ่งถูกปล่อยออกมา ณ ตำแหน่งจุดกำเนิดแผ่นดินไหว (Hypocenter) ค่าขนาดแผ่นดินไหวนี้ขึ้นอยู่กับความสูงของคลื่นแผ่นดินไหว (Amplitude) ที่บันทึกได้ด้วยเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismograph) ดังนั้นขนาดแผ่นดินไหวแต่ละครั้งจึงมีได้เฉพาะค่าเดียวซึ่งได้จากการตรวจจับด้วยเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวเท่านั้น

Charles F. Richter

เครื่องมือวัดแผ่นดินไหว วัดแผ่นดินไหวในแนวดิ่ง วัดแผ่นดินไหวในแนวราบ

(คลื่นภายในโลก) คลื่นแผ่นดินไหว (คลื่นผิวโลก)

ลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหวในดินที่ต่างกัน

C B A B C A

สูตรที่ใช้คำนวณ M = log A- log Ao เมื่อ M เป็นขนาดแผ่นดินไหว

M = log 100 - log 0.001 = 2-(-3) = 5

พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ในประเทศไทย