ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault
อินเดีย 26 มกราคม 2544, M 7.7 Kachchh Mainland Fault
อินเดีย 26 มกราคม 2544, M 7.7 Kachchh Mainland Fault
17 มกราคม 2538 M 7.2 Nojima Fault
สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว เกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน เนื่องจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในเปลือกโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลย์ของโลกให้เข้าที่ ส่งผลให้แผ่นดินแตก และเคลื่อนออกจากกัน ซึ่งเรียกว่า รอยเลื่อน (Fault) นอกจากนี้มาจาก ขบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด หรืออุกกาบาตตกกระแทกผิวโลก และเกิดจาก การกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ หรือการเก็บกักน้ำเหนือเขื่อน
* KOBE Epicenter N
พ.ศ.2088 ที่เชียงใหม่ ยอดเจดีย์หลวงหัก
รอยเลื่อนแม่กวง รอยเลื่อนแม่ทา
รอยเลื่อนปัว
รอยเลื่อนเถิน กม.28 ถนนลำปาง - แม่เมาะ
1957 Gobi-Attay Earthquake, Bogd Fault
San Andreas Fault, USA
ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ระนาบรอยเลื่อน จุดกำเนิดแผ่นดินไหว รูปแบบของคลื่นแผ่นดินไหว ศูนย์กลางแผ่นดินไหว จุดกำเนิดแผ่นดินไหว ระนาบรอยเลื่อน เปลือกโลกเลื่อนขาดออกจากกัน ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่น
(ศูนย์กลางแผ่นดินไหว) (จุดกำเนิดแผ่นดินไหว)
แผ่นเปลือกโลก เนื้อโลก ใจกลางโลก
เปลือกทวีป เปลือกสมุทร
แผ่นเปลือกโลก
รอยต่อแผ่นเปลือกโลก เคลื่อนที่ออกจากกัน เคลื่อนที่สวนกัน เคลื่อนที่เข้าหากัน
เปลือกสมุทร-เปลือกทวีป เปลือกสมุทร-เปลือกสมุทร เคลื่อนที่สวนกัน ของเปลือกทวีป เปลือกทวีป-เปลือกทวีป
กระแสการพาความร้อน (Convection currents)
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (ซม./ ปี)
วงแหวนไฟ
ชนิดของรอยเลื่อน หน้าผารอยเลื่อน แนวรอยเลื่อน รอยเลื่อนแนวราบ ศูนย์กลางแผ่นดินไหว จุดกำเนิดแผ่นดินไหว รอยเลื่อนปกติ ระนาบรอยเลื่อน รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ
รอยเลื่อนซ้ายเข้า รอยเลื่อนขวาเข้า
รอยเลื่อนแม่จัน
ความร้ายแรงของแผ่นดินไหว (The Severity of an Earthquake) ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (Intensity) ขึ้นอยู่กับผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อความรู้สึกของคน ต่อความเสียหายของอาคารและสิ่งก่อสร้าง และต่อสิ่งของธรรมชาติต่าง ๆ ความรุนแรงจะมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละแห่งที่ถูกรบกวน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของผู้สังเกตว่าอยู่ห่างไกลจากตำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter) มากน้อยเพียงใด
ขนาดของแผ่นดินไหว (Magnitude) เกี่ยวข้องกับปริมาณของพลังงานซึ่งถูกปล่อยออกมา ณ ตำแหน่งจุดกำเนิดแผ่นดินไหว (Hypocenter) ค่าขนาดแผ่นดินไหวนี้ขึ้นอยู่กับความสูงของคลื่นแผ่นดินไหว (Amplitude) ที่บันทึกได้ด้วยเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismograph) ดังนั้นขนาดแผ่นดินไหวแต่ละครั้งจึงมีได้เฉพาะค่าเดียวซึ่งได้จากการตรวจจับด้วยเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวเท่านั้น
Charles F. Richter
เครื่องมือวัดแผ่นดินไหว วัดแผ่นดินไหวในแนวดิ่ง วัดแผ่นดินไหวในแนวราบ
(คลื่นภายในโลก) คลื่นแผ่นดินไหว (คลื่นผิวโลก)
ลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหวในดินที่ต่างกัน
C B A B C A
สูตรที่ใช้คำนวณ M = log A- log Ao เมื่อ M เป็นขนาดแผ่นดินไหว
M = log 100 - log 0.001 = 2-(-3) = 5
พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว ในประเทศไทย