จากไฟล์ save_db.php.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายทรงชัย ลิ้มไกลท่า หัวหน้าฝ่ายอำนวยการสื่อสาร
Advertisements

ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
Active Sever Page.
ขั้นตอนง่ายๆ ในการ เข้าใช้บริการ GPF Web Service สำหรับสมาชิก กบข.
ขั้นตอนง่าย ๆ ในการเข้าใช้บริการ
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
Work From Anywhere To University
เทคนิคการสร้างแบบทดสอบ
Location object Form object
การสร้างแบบฟอร์ม <form>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
การส่งค่าและการเก็บค่า (ต่อ... )
การสร้าง Web Page จาก Wizard
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
การเขียนโปรแกรมออนไลน์
– Web Programming and Web Database
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
การใช้งาน phpMyAdmin เพื่อจัดการฐานข้อมูล MySQL
โปรแกรม Microsoft Access
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
การสร้างช่องรับข้อมูล
1 Javascript with Form. 2 Javascript - Get data from form post method formname.field.value get method formname.getElementById(“field")
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การรับข้อมูลในภาษา php
ซอฟแวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (MySQL)
HTML, PHP.
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
คู่มือการตอบคำถามสุขภาพผ่านเว็บไซต์
Microsoft Word MailMerge
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
CHAPTER 12 FORM.
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การเข้าใช้ Speexx ครั้งแรก Foundation English II
เข้าสู่เว็บไซต์ สทศ. ผ่าน โปรแกรม Internet Explorer ( ห้ามใช้โปรแกรม Mozilla Firefox, Google Chrome, Safari) แล้วเข้าไปที่ URL สทศ. ที่
วิธีการสร้าง KM ในระบบ iSchool.
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
การสร้างฐานข้อมูลโดยการใช้ phpMyAdmin
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูล
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการ สมัครเมลล์ * สิ่งที่ต้องจำ ห้าม ลืม 1.ID หรือชื่อผู้ใช้ 2. รหัสผ่าน 3. คำตอบที่ท่านตอบ คำถามที่เลือก.
การใช้งาน High Level API : Forms อ. วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล.
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
PHP Html Form && Query string
การเข้าทำงานของ สมาชิก ในการเพิ่มและแก้ไข ข้อมูลข่าวสาร.
Form.
วิธีเข้าระบบทดสอบจริยธรรมตำรวจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จากไฟล์ save_db.php

$id = $_POST["id"]; ตัวแปรสำหรับรับข้อมูลจาก ฟอร์ม

$id = $_POST["id"];

$id = $_POST["id"]; POST เป็นการส่งข้อมูลจากฟอร์มไปยังสคริปต์โดยตรงโดยไม่ผ่าน URL ทำให้เราไม่สามารถมองเห็นข้อมูลกล่าวได้ด้วยวิธีปกติ แบบนี้จึงเหมาะกับการทำหน้าจอล็อกอิน หรือมีข้อมูลจำนวนมากๆ

GET เป็นการส่งข้อมูลจากฟอร์มผ่านทาง URL ของเว็บเพจโดยตรง วิธีนี้ไม่ปลอดภัยเพราะข้อมูลที่ส่งผ่านไปให้สคริปต์นั้นจะถูกแสดงออกมาในรูปแบบของข้อความธรรมดาใน URL ซึ่งเราจะเห็นในช่อง Address Bar ของ Browser ทำให้ไม่เหมาะกับข้อมูลที่เราต้องการให้เป็นความลับ

การแสดงผลข้อความ

ไฟล์ save_db.php เพิ่ม code สำหรับแสดงข้อมูลที่กรอกลงไปหลังจากติดต่อฐานข้อมูลได้แล้วและกรอกข้อมูลสำเร็จแล้ว

print "id = $id"; print "username = $username"; print "ชื่อ = $name"; print "นามสกุล = $surname"; print "ที่อยู่ = $address"; print "เบอร์โทรศัพท์ = $tel"; print "email = $email";

print "id = $id <br> " ; print "username = $username <br>" ; print "ชื่อ = $name <br> " ; print "นามสกุล = $surname <br>" ; print "ที่อยู่ = $address <br>" ; print "เบอร์โทรศัพท์ = $tel <br>" ; print "email = $email <br>" ;

องค์ประกอบต่างๆ ของฟอร์มรับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น Checkbox, Radio Button เป็นต้น

การใช้งานปุ่มตัวเลือก (ปุ่มกลม: Radio) Radio Group

การใช้งานปุ่มตัวเลือก (ปุ่มเหลี่ยม: Checkbox)

การใช้กล่องตัวเลือกแบบ popup menu List/Menu

เลือก List Values…

ทดลองเปิดใน web browser โดยกดปุ่ม F12 (อย่าลืม save ก่อน)

เลือกค่าเริ่มต้น

Assignment 2 จาก Assignment 1 ให้เพิ่ม field อีก 2 field สำหรับเก็บข้อมูล เพศ (sex) ปีพ.ศ.เกิด (year_birth) โดยฟอร์มรับข้อมูลที่สร้างใน Dreamweaver มีลักษณะเป็น เพศ เป็น ปุ่มตัวเลือกซึ่งจะเป็น Radio หรือ Checkbox ก็ได้ ปีพ.ศ.เกิด เป็น popup menu

Assignment 1 1. สร้างฐานข้อมูลใหม่ ใน phpMyAdmin เพื่อเก็บประวัตินักศึกษา โดย ฐานข้อมูลชื่อ Resume ตารางชื่อ Student มี 7 field คือ id, name, surname, nickname, address, tel, email

2. สร้าง form จาก Dreamweaver เพื่อรับข้อมูลนักศึกษามาเก็บลงในฐานข้อมูล