บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
สาระที่ 4 พีชคณิต.
บทที่ 4 การจำลองแบบทางคณิตศาสตร์
Lesson 11 Price.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Formulate Mathematical Model
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
MARKET PLANNING DECISION
Location Problem.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Function and Their Graphs
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
(Applications of Derivatives)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การแจกแจงปกติ.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
กำหนดการเชิงเส้น PLERN SAIPARA RMUTL.
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
Flowchart การเขียนผังงาน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)

การโปรแกรม (Programming) : การวางแผน เชิงเส้น (Linear) : วิธีการที่ใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์ ชนิดเชิงเส้น การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming : LP) เป็นเทคนิคเชิงปริมาณที่อาศัยวิธีทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด

วัตถุประสงค์ของ LP 1.Maximize Profit : มุ่งหวังกำไรสูงสุด 2.Minimize Cost : มุ่งหวังต้นทุน หรือค่าใช้จ่ายต่ำสุด

ขั้นตอนของการโปรแกรมเชิงเส้น 1. สร้างตัวแบบของปัญหา 2. แก้ปัญหาของตัวแบบที่สร้างด้วยการหาคำตอบที่ต้องการ

การสร้างตัวแบบของปัญหา 1. การกำหนดตัวแปรของปัญหา 2. การกำหนดสมการเป้าหมาย 3. การสร้างข้อจำกัด 4. การสร้างตัวแปรทุกตัวให้มีค่าไม่ติดลบ

1. การกำหนดตัวแปรของปัญหา X1 = ตัวแปรตัวแรกที่ต้องการทราบ X2 = ตัวแปรที่สองที่ต้องการทราบ X3 = ตัวแปรที่สามที่ต้องการทราบ Xn = ตัวแปรที่ n ที่ต้องการทราบ

2. การกำหนดสมการเป้าหมาย (Objective Function) หาค่าสูงสุด Maximize Max Z หาค่าต่ำสุด Minimize Min Z ( Z คือ ผลรวมของฟังก์ชันเป้าหมาย หรือ ฟังก์ชันวัตถุประสงค์ )

3. สร้างข้อจำกัด (Constraints) โดยเขียนให้อยู่ในรูป อสมการ < , > , < , > a11x1 + a12x2 +….a1nxn > = < bi

4. สร้างตัวแปรทุกตัวให้มีค่าไม่ติดลบ (Non Negativety Restriction) กำหนดว่าตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ จะเป็นลบไม่ได้ X1 , X2 ,…,Xn > 0

ตัวอย่างที่ 4.1 (หน้า 71) บริษัทเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่ง ทำการผลิตโต๊ะ เก้าอี้ ซึ่งมีขั้นตอน 2 ขั้นตอน คือ 1. แผนประกอบ มีเวลาทำงานไม่เกิน 60 ซ.ม. 2. แผนตกแต่ง มีเวลาทำงานไม่เกิน 48 ซ.ม. โต๊ะ 1 ตัว ใช้เวลาประกอบ 4 ช.ม. ตกแต่ง 2 ช.ม. เก้าอี้ 1 ตัว ใช้เวลาประกอบ 2 ช.ม. ตกแต่ง 4 ช.ม. กำไร จากโต๊ะ 1 ตัว 8 บาท เก้าอี้ 1 ตัว 6 บาท จะต้องผลิตโต๊ะและเก้าอี้กี่ตัวในสัปดาห์ จึงจะได้กำไรสูงสุด

2. สมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2 2. สมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2

X1, X2, > 0 3. สร้างข้อจำกัด 2X1 + 4X2 < 48 4. กำหนดให้ตัวแปรทุกตัวมีค่าไม่ติดลบ X1, X2, > 0

โจทย์พิเศษ บริษัทผู้ผลิตแห่งหนึ่งผลิตสินค้า 3 ชนิดออกจำหน่ายโดยจะผลิตสินค้าเกรดเอ อย่างน้อยที่สุด 6,000 ชิ้น สินค้าเกรดบี อย่างมากที่สุด 24,000 ชิ้น และสินค้าเกรดซี ไม่เกิน30,000 ชิ้น ซึ่งบริษัทมีเครื่องจักรที่จะใช้ในการผลิตสินค้าอยู่ 2 ประเภท คือ เครื่องจักรประเภท ก และเครื่องจักรประเภท ข ที่สามารถผลิตสินค้าแต่ละชนิดได้ ดังนี้ รายการสินค้า เครื่องจักรประเภท ก เครื่องจักรประเภท ข เกรดเอ (ชิ้น/เดือน) 75 100 เกรดบี (ชิ้น/เดือน) 200 150 เกรดซี (ชิ้น/เดือน) 200 250 ในการคิดราคาต้นทุนการผลิตและจำหน่าย ประมาณได้ว่าการผลิตสินค้าโดยใช้เครื่องจักร ก จะได้กำไรเฉลี่ยเครื่องละ 87,500 บาท เครื่องจักร ข จะได้กำไรเฉลี่ยเครื่องละ100,000 บาท บริษัทควรใช้เครื่องจักรแต่ละประเภทกี่เครื่องจึงจะทำให้บริษัทได้กำไรมากที่สุด

วิธีทำ. กำหนดให้ X1 = จำนวนเครื่องจักร ประเภท ก วิธีทำ กำหนดให้ X1 = จำนวนเครื่องจักร ประเภท ก X2 = จำนวนเครื่องจักร ประเภท ข สมการเป้าหมาย Max Z = 87,500X1 + 100,000X2 ข้อจำกัด 75X1 + 100X2 > 6,000 200X1 + 150X2 < 24,000 200X1 + 250X2 < 30,000 X1, X2 > 0

การแก้ปัญหาของตัวแปร 1. วิธีกราฟ ใช้ในกรณีที่ตัวแปรมี 2 ตัวเท่านั้น 2. วิธีซิมเพล็ก ใช้หาค่าตัวแปรโดยไม่จำกัด จำนวน

วิธีแก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีกราฟ 1. นำตัวแบบที่สร้างสมบูรณ์แล้วมาพิจารณา 2. กำหนดแกนตั้งและแกนนอนของตัวแปร X1, X2 (แกนตั้ง X2 แกนนอน X1) 3. นำข้อจำกัดทุกข้อ มาหาค่าเพื่อสร้างกราฟ

< > X1 < > X1 < > X1 4. หาบริเวณพื้นที่คำตอบที่เป็นไปได้ ภายใต้เงื่อนไขทุกข้อ X2 X2 X2 < > X1 < > X1 < > X1 5. หาค่าที่ดีที่สุด ภายใต้เป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ (Optimal Solution)

สมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2

2X1 + 4X2 < 48 X1, X2, > 0 2. สร้างแกนของกราฟ ข้อกำหนดของตัวแปรมีค่าไม่ติดลบ X1, X2, > 0 2. สร้างแกนของกราฟ โดยให้ X1 (โต๊ะ) แทนแกนนอน X2 (เก้าอี้) แทนแกนตั้ง X2 X1

3. นำข้อจำกัดมาหาค่าเพื่อสร้างกราฟ 3.1 4X1 + 2x2 < 60 ถ้า X1 = 0 ; 4(0) + 2X2 = 60 X2 = 30 ถ้า X2 = 0 ; 4X1 + 2 (0) = 60 X1 = 15

3.2 2X1 + 4X2 < 48 ถ้า X1 = 0 ; 2(0) + 4X2 = 48 X2 = 12

4X1 + 2X2 < 60 2X1 + 4X2 < 48 X2 X1 (0,30) A (0,12) E C (24,0) X1 C (24,0) B (15,0)

4X1 + 2X2 < 60 2X1 + 4X2 < 48 X2 D (12,6) X1 (0,30) A (0,12) E X1 C (24,0) B (15,0)

4. หาจุดตัดของสมการ ที่ จุด D 4X1 + 2X2 = 60 ..…. 1 2X1 + 4X2 = 48 …... 2 2 x 1 8X1 + 4X2 = 120 …... 3 3 - 2 6X1 = 72 X1 = 12

แทนค่า X1 = 12 ในสมการที่ 1 4(12) + 2X2 = 60 48 + 2X2 = 60 X2 = 6 จุด D คือ (12 , 6)

5. เลือกค่าที่ดีที่สุด (Optimal Solution) นำจุดมุมทุกจุดที่อยู่ในพื้นที่คำตอบแทนค่าในสมการเป้าหมาย Max Z = 8X1 + 6X2 จุด E (0,12) = 8(0) + 6(12) = 72 D (12,6) = 8(12) + 6(6) = 132 B (15,0) = 8(15) + 6(0) = 120 O (0,0) = 8(0) + 6(0) = 0 ที่ จุด D : X1 = 12 , X2 = 6 ให้ค่า Z สูงสุด = 132

สรุป ผลิตโต๊ะ X1 = 12 ตัว/สัปดาห์ ผลิตเก้าอี้ X2 = 6 ตัว/สัปดาห์ จะได้กำไรสูงสุด = 132 บาท/สัปดาห์