Certo, S.C. กล่าวว่า การประเมิน ข่าวสาร คือ กระบวนการกำหนดว่า การได้มาซึ่งข่าวสารนั้นเป็นเรื่องที่ชอบ ด้วยเหตุผล (justified) ซึ่งฝ่ายจัดการ มักจะเน้นในแง่คุณค่าในแง่ตัวเงิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Priciples of Marketing
Lesson 10 Controlling.
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดย
Decision Tree Analysis
PDCA คืออะไร P D C A.
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 16 การใช้ข้อมูล ข่าวสาร ของ ผู้บริหาร จากงานเขียนตั้งแต่ข้อ 1-15 ผู้อ่าน คงจะได้ตระหนักถึงคุณค่าของ ข่าวสาร ก็น่าเชื่อได้ว่าหรือตั้ง สมมุติฐานได้ว่า.
ข้อมูลมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความแตกต่างคงจะเป็นเรื่องของปริมาณ คุณภาพ ประเภท และการใช้ข้อมูล 1. ในแง่ปริมาณ ปริมาณน่าจะเพิ่มใน อัตราเร่งรัดจนเกิดสภาพที่ที่เรียกว่า.
ลักษณะของข่าวสารที่ดี
- เป็นข้อมูลในรูปตัวเลข อักษรและลักษณะอื่นๆ
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
วิธีการทางวิทยาการระบาด
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการ ส่งเสริมการออม.
บทบาทผู้นำองค์กร. ผลของการนำองค์กรที่ ผิดพลาด รอดมาได้
การประกันคุณภาพของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ. ศ P A C D.
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ความหมายของการวิจารณ์
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
ความต้องการของผู้ใหญ่ใน การเรียนรู้ 4 ด้านคือ 1. เพื่อที่จะได้เพิ่มพูนบางอย่าง (To gain something) 2. เพื่อที่จะได้เป็นบางสิ่ง (To be something) 3. เพื่อที่จะได้ทำบางสิ่ง.
การออกแบบการวิจัย.
การวัดการวิจัยในการตลาด
ตัวชี้วัด 2 รายงานกิจกรรม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
การวัดและประเมินผล.
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Certo, S.C. กล่าวว่า การประเมิน ข่าวสาร คือ กระบวนการกำหนดว่า การได้มาซึ่งข่าวสารนั้นเป็นเรื่องที่ชอบ ด้วยเหตุผล (justified) ซึ่งฝ่ายจัดการ มักจะเน้นในแง่คุณค่าในแง่ตัวเงิน ที่ ได้จากการใช้ข่าวสารจำนวนหนึ่งต่อ ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุน (cost) ในการที่ จะได้มาซึ่งข่าวสารนั้น ๆ การประเมินฯ มีกิจกรรมดังปรากฏในแผนภาพ

การกำหนดและประเมินข้อมูล จากแผนภาพ จุดเริ่มต้น และเป็นจุดที่ สำคัญคือทราบค่าของข่าวสาร โครงการชี้ลงไปยังข้อมูลที่ต้อง วิเคราะห์แล้วกำหนดค่าที่คาดหวัง (expected value) หรือผลตอบแทน ที่จะได้รับจากการได้ข่าวสารที่สมบูรณ์ จากนั้นค่าที่คาดหวังจะลดลง โดย จำนวนผลประโยชน์ ซึ่งไม่เป็นจริง เนื่องจากขาดตกบกพร่องและความไม่ แม่นยำที่คาดว่าจะปรากฏในข่าวสาร

การประเมินค่าต้นทุนของข้อมูล ขั้นตอนต่อมา คือ การเปรียบเทียบค่า คาดหวังกับต้นทุน (cost) ของการ ได้มาของข้อมูลถ้าต้นทุนไม่มากกว่า ค่าที่คาดหวัง ข่าวนั้นก็ควรถูกเก็บ รวบรวมถ้ามากกว่าผู้จัดการก็มี ทางเลือกคือเพิ่มค่าที่คาดหวัดหรือลด ต้นทุนที่คาดหวัง

เริ่ม เลือกข้อมูลที่ต้องการประเมิน ประมาณค่าที่คาดหวัง ของข่าวสารที่สมบูรณ์ ( สมบูรณ์และถูกต้องแม่นยำ ) โดยมีการใช้อย่าง คุ้มค่าที่สุด ลดหรือตัดทอนในเรื่องต่อไปนี้ 1. ความขาดตกบกพร่องและคลาแคลื่อน ( ประมาณค่าที่คาดหวัง ของข่าวสาร ) 2. การใช้ที่ผิดพลาด ( ปัญหาเรื่องรูปแบบเวลาและ สถานที่ที่จะได้มาของค่าที่แท้จริงของข่าวสาร ) เปรียบเทียบค่ากับต้นทุนของข่าวสาร 1. เพิ่มค่าโดยลดความไม่ถูกต้อง หรือเพื่อการใช้ 2. ลดต้นทุนโดยการเพิ่มความไม่ถูกต้อง แม่นยำ หรือลดการใช้ ค่าจริง ๆ ของข่าวสาร มากกว่าต้นทุนหรือไม ยุติ หยุดหรือทำซ้ำสำหรับข่าวสารต่อไป ต้องการดำเนิน ต่อไปหรือไม่ หาข่าวสาร

จากแผนภาพข้างบน ขั้นตอนที่ สำคัญในการประเมิน คือ การวัดค่า ข่าวสาร โดยการชี้ไปยังข้อมูลที่ ต้องการวิเคราะห์ แล้วกำหนดค่าที่ คาดหวัง (Expected value) หรือสิ่ง ที่ตอบแทน (return) ที่จะได้จากการ มีข่าวสารที่สมบูรณ์ที่ได้จากข้อมูล เหล่านี้ ต่อมาค่าที่คาดหวังนี้จะลด น้อยลงโดยจำนวนของประโยชน์โดยที่ เราไม่ได้ตระหนักเพราะการขาดตก บกพร่องและความคลาดเคลื่อนซึ่งคาด ว่าจะปรากฏในข่าวสาร

ขั้นตอนต่อมาคือ เปรียบเทียบค่าที่ คาดหวัง กับค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่ คาดหวัง (Expected cost) ในการ ได้มาซึ่งข่าวสาร ถ้าต้นทุนที่คาดหวัง มากกว่าที่คาดหวังก็ควรจะเก็บรวบรวม ข้อมูลข่าวสารนั้น ถ้ามากกว่าผู้จัดการ จะต้องเพิ่มค่าที่คาดหวังหรือลดต้นทุน ที่คาดหวังก่อนที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลบ