บทที่ 5 Alkyl Halides.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
พลังงานจำนวนหนึ่ง ที่ได้รับ(จ่ายออกมา) หรือต้องใช้ไป ในการเกิดปฏิกริยา
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Electrophilic Substitution of Benzene
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
ชนิดของ Carbon ในสารประกอบอินทรีย์
Organic Intermediate ในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์จะต้องเกี่ยวข้องกับ การแตกพันธะ (bond breaking) และการสร้างพันธะ (bond forming) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนกลไกการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ.
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ แอลกอฮอล์ และอีเทอร์
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีอินทรีย์ แอลดีไฮด์และคีโตน
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
โซ่กิ่งหรือกิ่งแขนง : อะตอมคาร์บอนแยกออกจากโซ่ตรงหรือโซ่หลัก
วิชาเคมีอินทรีย์ คม 250 ปีการศึกษา 1/2552
แบบฝึกหัด.
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
5.Hofmann Elimination ใช้ปฏิกิริยานี้ในการวิเคราะห์สูตรโครงสร้าง
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Object-Oriented Analysis and Design
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
บทที่ 2 Alkanes & Cycloalkanes
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
สารประกอบ.
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
Alkynes 1-butyne 2-butyne
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
การจำแนกสารอินทรีย์ ฟังก์ชั่นของสารอินทรีย์
แบบฝึกหัดที่ 3 ไฮโดรคาร์บอน
เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อสารอินทรีย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 Alkyl Halides

อัลคิลเฮไลด์ ได้แก่ สารประกอบอัลเคน ซึ่งไฮโดรเจนถูกแทนที่ด้วยธาตุหมู่ 7 (halogen) ในบางครั้งอาจเรียกว่า “Haloalkanes” สูตรทั่วไปคือ R-X ( X = F, Cl, Br, I) 2

ประเภทของอัลคิลเฮไลด์  อัลคิลเฮไลด์ แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ตามจำนวนหมู่อัลคิล (R-) ที่เกาะกับคาร์บอนซึ่งสร้างพันธะอยู่กับฮาโลเจน (X) 3

การเรียกชื่อของอัลคิลเฮไลด์ 1. Common name - ระบุชื่อหมู่อัลคิล ตามด้วยชื่อหมู่เฮไลด์ CH3CH2Cl Ethyl chloride t-Butyl bromide Benzyl bromide 4

 เรียกเป็น haloalkane โดยให้ฮาโลเจนเป็นหมู่ 2. IUPAC Name  เรียกเป็น haloalkane โดยให้ฮาโลเจนเป็นหมู่ แทนที่บนสายโซ่คาร์บอนที่ยาวที่สุด และระบุ ตำแหน่งให้เป็นตัวเลขน้อยๆ 1 3-Bromo-1-chlorobutane 5

6

ปฏิกิริยาของ RX 7

Substitution reaction กลไกแบบ SN1 และ SN2 S = Substitution reaction N = Nucleophile ; Nu 1,2 = จำนวนโมเลกุลที่เกี่ยวข้องในขั้น ที่ 1 ของปฏิกิริยาการแทนที่นั้นๆ - 8

CH3CH2Br + H2O  CH3CH2OH + HBr SN2 เกิดได้ดีกับ Primary และ Secondary RX ปฏิกิริยาเกิดเพียง 1 ขั้นตอน โดยการรวมตัวระหว่างสารตั้งต้นและรีเอเจนต์ ไม่เกิด carbonium ion หรือ carbocation (C+) CH3CH2Br + H2O  CH3CH2OH + HBr 9

CH3Br + KCN  CH3CN + KBr SN2 10

(CH3)3CBr + H2O  CH3CH2OH + HBr SN1 เกิดได้ดีกับ Tertiary RX ปฏิกิริยาเกิด 2 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 : เกิด carbonium ion เนื่องจาก X หลุดออก จากสารตั้งต้น ขั้นที่ 2 : รีเอเจนต์เข้าทำปฏิกิริยากับ carbonium ion (CH3)3CBr + H2O  CH3CH2OH + HBr 11

(CH3)3C - Br  (CH3)3C + Br (CH3)3C + H2O  (CH3)3C - OH .. .. + - + ขั้นที่ 1 + - (CH3)3C - Br  (CH3)3C + Br Carbonium ion ขั้นที่ 2 .. + (CH3)3C + H2O  (CH3)3C - OH .. 12

CH3 CH3(CH2)2 C OH + HBr CH3CH2CH2C Br + H2O CH3 CH3 CH3 13

Elimination reaction - CH3CH2Br + OH  CH2 = CH2 + H2O + Br - - - (CH3)3CCl + OH  CH2 = C(CH3)2 + H2O + Cl 14