บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
Electrophilic Substitution of Benzene
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons

.. **Huckel 4n+2 Rule** สมบัติของสารประกอบ “Aromatic”  โมเลกุลแบนราบ (Planar)  โครงสร้างเป็นวง (Cyclic)  ในโมเลกุลมีพันธะคู่สลับกับพันธะเดี่ยว ตลอดทั้งโมเลกุล (Fully conjugated)  มีจำนวน pi electrons = 4n+2 เมื่อ n เป็น 0,1,2,3,…. (pi electrons = จำนวน e- ของพันธะคู่) 2

4 pi e- (No) 8 pi e- (No) 6 pi e- (Yes) 3

Benzene Anisole Benzaldehyde Aspirin 4

Vanillin Naphthalene 5

“Polycyclic aromatic hydrocarbon” Benzopyrene Carcinogen “Polycyclic aromatic hydrocarbon” 6

Benzene C6H6 7

Benzene 8

ปฏิกิริยาของอัลคีนและเบนซีน 9

ปฏิกิริยาของอัลคีนและเบนซีน 10

 จากการศึกษาเกี่ยวกับ ความยาวพันธะและพลังงาน พันธะ รวมทั้ง ความแตกต่างในการเกิดปฏิกิริยากับ สารอื่นๆของอัลคีนและเบนซีน สรุปได้ว่า “พันธะที่พบในโครงสร้างของเบนซีนไม่ใช่พันธะคู่ และพันธะเดี่ยวที่แท้จริง แต่เป็นพันธะก้ำกึ่งระหว่าง พันธะทั้งสองชนิด” 11

Resonance structure ของเบนซีน Resonance หมายถึง การเคลื่อนที่ (delocalised) ของ pi-electrons ในวงแหวนของเบนซีน ซึ่งทำให้คาร์บอนทุกอะตอมภายในโมเลกุลสามารถใช้อิเลคตรอนร่วมกันได้ พันธะคู่ของเบนซีนจึงไม่ว่องไวต่อปฏิกิริยา (low reactivity) เหมือนพันธะคู่ของอัลคีน 12

13

การเรียกชื่อของเบนซีน เบนซีนที่มีหมู่แทนที่ 1 หมู่  เรียกชื่อหมู่แทนที่แล้วลงท้ายว่า benzene 14

Common name ที่ยอมรับในระบบ IUPAC 15

2. เบนซีนที่มีหมู่แทนที่ 2 หมู่  ใช้ ortho (o-) meta (m-) และ para (p-) ในการระบุตำแหน่งหมู่แทนที่ ในตำแหน่ง 1,2 1,3 และ 1,4 ตามลำดับ 1 3 2 4 1 1 16

3. เบนซีนที่มีหมู่แทนที่มากกว่า 2 หมู่  ใช้ตัวเลขในการระบุตำแหน่งหมู่แทนที่ ให้หมู่แทนที่ในชื่อหลักอยู่ตำแหน่งที่ 1  ระบุหมู่แทนที่อื่นๆให้มีตำแหน่งน้อยที่สุด  เรียกชื่อหมู่แทนที่เรียงตามลำดับตัวอักษร 17

1 1 1 18

Trinitrotoluene,TNT 19

กรณีที่เบนซีนเป็นหมู่แทนที่ในสารอินทรีย์ชนิดอื่นๆ ให้เรียกเบนซีนว่าหมู่ phenyl 20

ปฏิกิริยาของเบนซีน  เบนซีนเกิดปฏิกิริยาชนิด Electrophilic aromatic substitution โดย H ในวงแหวน ถูกแทนที่ด้วย electrophile (E+) ซึ่งได้แก่ หมู่อะตอมที่มีประจุบวก หรือ ชอบอิเลคตรอน เช่น Br+ 21

1. Halogenation  X+ 2. Alkylation  R+ 3. Acylation  R-C=O 4. Nitration  NO2 5. Sulfonation  SO3H + + + 22

1. Halogenation FeBr3 23

กลไกของปฏิกิริยา 24

2. Friedel-Crafts alkylation 25

AlCl3 CH3 + HCl + CH3Cl  26

27

3. Friedel-Crafts acylation 28

กลไกของปฏิกิริยา 29

HNO3 + 2H2SO4  NO2+ + H3O+ + 2HSO4- 4. Nitration HNO3 + 2H2SO4  NO2+ + H3O+ + 2HSO4- 30

กลไกของปฏิกิริยา 31

5. Sulfonation SO3 32

Benezenesulfonic acid กลไกของปฏิกิริยา 33

Oxidation of benzene 34