การคิดและการตัดสินใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Object-Oriented Analysis and Design
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ประพจน์ และค่าความจริง
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Management Information Systems
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
Introduction to Digital System
บทที่ 16 การพัฒนาเว็บไซต์.
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
การวัดประสิทธิภาพ.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
ระบบเบิกจ่าย การ LOCK รายการตั้งเบิกกรณีที่มีค่าปรับ
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
สัจนิรันดร์ ข้อขัดแย้งและข้อความที่สรุปไม่ได้
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การเขียนผังงาน (Flowchart)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง
16. การเขียนรายงานการวิจัย
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคิดและการตัดสินใจ บทที่ 6 ตอนที่ 2 รศ.ชะเอม สายทอง ผู้นำเสนอ

การวิเคราะห์ค่าความจริงของประพจน์ 3 แบบ 1. การใช้ตาราง 2. การแผนภาพต้นไม้ 3. การตีความผิดพลาด ในที่นี้จะสอนเฉพาะแบบ 1 และ 2 เท่านั้น แบบที่ 3 ให้นักศึกษาที่เรียนตรรกศาสตร์ที่สูงขึ้นได้เรียน

การวิเคราะห์ค่าความจริง ของประพจน์เชิงซ้อนโดยใช้ตาราง ใช้หาค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อนได้ทุกกรณีที่เป็นไปได้ หลักการ ถ้าประพจน์เชิงซ้อน ประกอบด้วยประพจน์ย่อย 2 ประพจน์ แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน เป็นไปได้ 2 x 2 = 4 กรณี ถ้าประพจน์เชิงซ้อน ประกอบด้วยประพจน์ย่อย 3 ประพจน์ แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน 2 x 2 x 2 = 8 กรณี ...

หลักการทั่วไป แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ถ้าประพจน์เชิงซ้อน ประกอบด้วยประพจน์ย่อย n ประพจน์ แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ดังนั้น ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน เป็นไปได้ 2 x 2 x 2 x … x 2 ( n ครั้ง ) = 2 n กรณี

ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน ซึ่งประกอบด้วยประพจน์ย่อย 3 ประพจน์ F T r q p

แบบของตารางการวิเคราะห์ค่าความจริง แบบที่ 1 ตารางเต็มรูป แบบที่ 2 ตารางลดรูป

ตัวอย่าง 6.13 จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ โดยสร้างตาราง

วิธีทำ (แบบตารางเต็มรูป)

วิธีทำ (แบบตารางเต็มรูป)

วิธีทำ (แบบตารางเต็มรูป)

วิธีทำ (แบบตารางลดรูป)

วิธีทำ (แบบตารางลดรูป)

วิธีทำ (แบบตารางลดรูป)

ตัวอย่าง 6.14 จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง 6.14 จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้

สัจนิรันดร์ ( Tautology ) คือประพจน์ ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ คนทุคนต้องตาย 2 + 2 = 4 งูเป็นสัตว์เลื้อยคลาน โลกกลม 1 > 0 หรือ 1 < 0 2 > 10 โลกแบน 4 เป็นเลขคู่ และ 4 เป็นเลขคี่ เชียงใหม่อยู่ทางใต้ของประเทศไทย 1 > 0 และ 1 < 0

ตัวอย่าง 6.15 ประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ ตัวอย่าง 6.15 ประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีทำ 1)

วิธีทำ 1)

วิธีทำ 1)

วิธีทำ 1)

วิธีทำ 1)

วิธีทำ 1)

วิธีทำ 1)

การวิเคราะห์ค่าความจริงโดยใช้แผนภาพต้นไม้ หลักการ 1. ใช้ในกรณีที่ทราบค่าความจริงของประพจน์เดี่ยว ๆ แล้ว 2. ถ้าไม่ทราบค่าความจริงของประพจน์ จะต้องแสดงแผนภาพต้นไม้ ต้นละ 1 กรณี

การวิเคราะห์ค่าความจริงโดยใช้แผนภาพต้นไม้ หลักการ 1. ใช้ในกรณีที่ทราบค่าความจริงของประพจน์เดี่ยว ๆ แล้ว 2. ถ้าไม่ทราบค่าความจริงของประพจน์ จะต้องแสดงแผนภาพต้นไม้ ต้นละ 1 กรณี

ตัวอย่าง 6.16 จงหาค่าความจริงของประพจน์ ตัวอย่าง 6.16 จงหาค่าความจริงของประพจน์

วิธีทำ

วิธีทำ

วิธีทำ

วิธีทำ

สรุป

ตัวอย่าง 6.17 จงหาค่าความจริงของประพจน์

วิธีทำ

วิธีทำ

วิธีทำ

วิธีทำ

ค่าความจริงของประพจน์ตามโจทย์ มีค่าความจริงเป็นจริง ผลสรุป ค่าความจริงของประพจน์ตามโจทย์ มีค่าความจริงเป็นจริง

ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120

ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120

ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120

ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120

ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120

กิจกรรม 1. แบบฝึกหัด 6.1 หน้า 106 ให้ตรวจว่าข้อความ 1 - 18 1. แบบฝึกหัด 6.1 หน้า 106 ให้ตรวจว่าข้อความ 1 - 18 เป็นประพจน์ กี่ข้อ (ตอบ…..ข้อ) 2. จงหาค่าความจริงของประพจน์ ข้อ 3 3 ) หน้า 120 3. จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ ข้อ 4 1)