สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ครูโชคชัย บุตรครุธ
6. ที่ราบ 6.1 ที่ราบ หมายถึง พื้นที่ที่มีระดับค่อนข้างต่ำหรือมีความสูงไม่มากนัก อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 100 เมตร โดยอาจมีพื้นผิวราบเรียบหรือขรุขระก็ได้ เพราะมีเนินเขาเตี้ย ๆ กระจายอยู่ทั่วไป
6. ที่ราบ 6.2 ประเภทของที่ราบ จำแนกตามลักษณะการเกิด มี 3 ประเภท ดังนี้ 6. ที่ราบ 6.2 ประเภทของที่ราบ จำแนกตามลักษณะการเกิด มี 3 ประเภท ดังนี้ (1) ที่ราบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเปลือกโลก (2) ที่ราบที่เกิดจากการทับถม เกิดจากตัวกระทำทางธรรมชาติ (3) ที่ราบที่เกิดจากการสึกกร่อนพังทลาย
6. ที่ราบ 6.3 ที่ราบที่เกิดจากการทับถม จำแนกเป็นประเภทย่อย ๆ ดังนี้ 6. ที่ราบ 6.3 ที่ราบที่เกิดจากการทับถม จำแนกเป็นประเภทย่อย ๆ ดังนี้ ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่ราบเศษหินธารน้ำแข็ง ที่ราบชายฝั่ง ที่ราบเลิสส์
7. ที่ราบสูง 7.1 ที่ราบสูง คือ พื้นที่ราบที่มีระดับความสูงกว่าบริเวณที่อยู่โดยรอบ โดยทั่วไปมีพื้นที่กว้างใหญ่ มีพื้นผิวค่อนข้างราบเรียบ และมีเทือกเขากั้นเป็นขอบอยู่ด้านใดด้านหนึ่ง มีความต่างระดับของพื้นที่เกิน 150 เมตร
7. ที่ราบสูง 7.2 ประเภทของที่ราบสูง มี 3 ประเภท 7.2 ประเภทของที่ราบสูง มี 3 ประเภท (1) ที่ราบสูงเชิงเขา เป็นที่ราบสูงที่มีด้านหนึ่งอยู่ติดกับเทือกเขา และอีกด้านหนึ่งติดกับที่ราบหรือชายฝั่งทะเล ซึ่งเป็นลักษณะของที่ราบสูงที่มีพื้นที่เทลาดลงสู่ทะเล
7. ที่ราบสูง (2) ที่ราบสูงระหว่างภูเขา เป็นที่ราบสูงที่มีเทือกเขาขนาบล้อมไว้สองหรือสามด้าน เพราะเกิดจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นสูง (3) ที่ราบสูงภาคพื้นทวีป หรือที่ราบสูงรูปโต๊ะ ( Tableland ) เป็นที่ราบที่ยกระดับตัวสูงขึ้นจากที่ราบโดยรอบและล้อมรอบด้วยที่ราบต่ำ (ขอบของที่ราบสูงประเภทนี้จะติดทะเลหรือที่ราบต่ำ)
8. ความสำคัญของภูมิประเทศ 8.1 ความสำคัญต่อสภาพอากาศ 8.2 ความสำคัญต่อทรัพยากรธรรมชาติ 8.3 ความสำคัญต่อการตั้งถิ่นฐานและการกระจายของประชากร 8.4 ความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เช่น บริเวณที่ราบย่อมให้ความสะดวกในการสัญจรและติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ดีกว่าเขตภูเขาสูง
จบ