คุณครูโชคชัย บุตรครุธ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
บรรยากาศ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ส่วนวิศวกรรมธรณี สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
ตราด.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวศุกร์ (Venus).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณครูโชคชัย บุตรครุธ น้ำค้างแข็ง คุณครูโชคชัย บุตรครุธ

19 น้ำค้างแข็ง ( Frost ) 19.1 น้ำค้างแข็ง ( Frost ) เป็นปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในบรรยากาศของพื้นผิวโลก มีลักษณะเป็นเกร็ดน้ำแข็งขาว ๆ จับตัวตามใบไม้ใบหญ้า และวัตถุอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้กับพื้นดิน จะพบในช่วงฤดูหนาวบริเวณยอดดอยสูง ๆ ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

19 น้ำค้างแข็ง ( Frost ) 19.2 แหล่งที่พบ น้ำค้างแข็งที่พบในภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน มีชื่อภาษาถิ่นว่า “เหมยขาบ” ส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งสำคัญที่พบ คือ ภูกระดึง จังหวัดเลย เรียกว่า “แม่คะนิ้ง”

19 น้ำค้างแข็ง ( Frost ) 19.3 กระบวนการเกิด น้ำค้างแข็งเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ (1) การเกิดโดยตรง เกิดเมื่ออุณหภูมิของอากาศใกล้ผิวโลกลดต่ำลงกว่าจุดเยือกแข็ง ทำให้ไอน้ำในอากาศจับตัวแข็งเป็นเกร็ดน้ำแข็ง และตกลงมาเกาะตามใบไม้ใบหญ้าบริเวณเหนือพื้นดิน

19 น้ำค้างแข็ง ( Frost ) (2) การเกิดโดยอ้อม เกิดเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดต่ำลง โดยมีปริมาณความชื้นสัมพัทธ์บริเวณใกล้พื้นดินสูง ทำให้ไอน้ำกลั่นตัวเป็นหยดน้ำเกาะอยู่ตามใบไม้ใบหญ้า และเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดต่ำเท่ากับจุดเยือกแข็ง น้ำค้างที่เกาะตามใบไม้ใบหญ้าก็จะแข็งตัวเป็นเกร็ดน้ำแข็ง

20. ลูกเห็บ 20.1 ลูกเห็บ ( Hail ) เป็นปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศมีลักษณะเป็นก้อนน้ำแข็งขนาดเล็กคล้ายรูปกรวยหรือหัวหอม จะตกลงมาพร้อมกับการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองถ้าลูกเห็บมีขนาดใหญ่อาจทำอันตรายต่อบ้านเรือน หรือพืชผักผลไม้ได้

20. ลูกเห็บ 20.2 แหล่งที่พบ ลูกเห็บมักตกในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมากที่สุด โดยเฉพาะในเดือนเมษายนซึ่งมีพายุฝนฟ้าคะนอง

20. ลูกเห็บ 20.3 กระบวนการเกิด ลูกเห็บจะเกิดเมื่อเมฆฝน ที่เรียกว่า “คิวมูโลนิมบัส” ก่อตัวขึ้นและลอยตัวอย่างรวดเร็วขึ้นสู่บรรยากาศชั้นบนที่มีอุณหภูมิของอากาศต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ทำให้เม็ดฝนแข็งตัวกลายเป็นก้อนน้ำแข็งและตกลงมาพร้อม ๆ กับพายุฝน

21. แผ่นดินไหว 21.1 แผ่นดินไหว ( Earthquakes ) เป็นปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เปลือกโลกเกิดการเคลื่อนไหวหรือสั่นสะเทือน โดยเกิดจากการเคลื่อนตัวและแรงกดดันของเปลือกโลก รวมทั้งการระเบิดของภูเขาไฟ

21. แผ่นดินไหว 21.2 กระบวนการเกิด สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหวมี 2 ประการ คือ (1) เกิดโดยธรรมชาติ ได้แก่ การเคลื่อนตัวหรือการเลื่อนตัวของเปลือกโลก และการระเบิดของภูเขาไฟ

21. แผ่นดินไหว (2) เกิดโดยการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การสร้างอ่างเก็บน้ำไว้บนแนวรอยเลื่อนของแผ่นเปลือกโลก การทำเหมืองขุดในระดับลึก การทดลองการระเบิดใต้ดิน การเก็บขยะนิวเคลียร์ไว้ใต้ดินทำให้เกิดการแผ่กัมมันตรังสี 

21. แผ่นดินไหว 21.3 เครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว เรียกว่า ไซสโมกราฟ(Seismograph) โดยมีหน่วยวัดเป็นมาตรา “ริคเตอร์” (Richter)

21. แผ่นดินไหว 21.4 การวัดระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว โดยทั่วไประดับความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวตั้งแต่ 7.0 มาตราริคเตอร์ขั้นไป เป็นการสั่นไหวที่รุนแรง อาคารสิ่งก่อสร้างได้รับความเสียหายมาก แผ่นดินอาจมีรอยแตกแยก เครื่องเรือนและวัตถุต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นจะถูกเหวี่ยงกระเด็น

21. แผ่นดินไหว 21.5 ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว (1) ผลกระทบโดยตรง ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ (2) ผลกระทบโดยอ้อม พื้นที่ที่อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเลอาจจะเกิดคลื่นยักษ์ เรียกว่า “สึนามิ” ( Tsunami )

21. แผ่นดินไหว 21.6 สถิติแผ่นดินไหวของประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่นอกแนวแผ่นดินไหวของโลกจึงได้รับผลกระทบไม่มากนัก จากการตรวจวัดของกรมอุตุนิยมวิทยาพบว่าขนาดของแผ่นดินไหวที่เคยเกิดในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นระดับเล็กหรือปานกลาง (เฉลี่ยประมาณ 6.0 ริคเตอร์)

จบ