การจำแนก ประเภทความพิการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในวัยเด็ก
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
สนามกีฬา.
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
การฟัง การฟัง  คือ  การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน  เป็นการรับรู้สารทางหู  ในชีวิตประจำวันของ เรา  เราใช้เวลาในการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง 
ค่ารักษาพยาบาล 1. เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็น ไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
โรคสมาธิสั้น.
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
DESIGN PROJECT 1 ALTERNATIVE SCHOOL FOR IMPAIRMENTS
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
ก ล เ ม็ ด เกร็ดการนำเสนอ.
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
มลพิษทางกลิ่น โชคชัย บุตรครุธ.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 20.
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
เรื่อง การปฏิบัติตนที่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจการได้ยิน
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
เรื่อง อันตรายของเสียง
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
การพูด.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
เทคนิคการให้คำปรึกษา
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
บทที่ 9 การออกแบบวิจัยเชิงพรรณนา : การ สังเกตการณ์
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำแนก ประเภทความพิการ

ได้กำหนดประเภทความบกพร่อง ที่ต้องการการศึกษาพิเศษไว้ 9 ประเภท ที่ต้องการการศึกษาพิเศษไว้ 9 ประเภท คือ

1. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น 1. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการมองเห็นตั้งแต่ระดับเล็กน้อย จนถึงบอดสนิท

แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. คนตาบอด 2. คนเห็นเลือนราง

2. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับรุนแรงจนถึง ระดับน้อย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. คนหูหนวก หมายถึง คนที่สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถรับข้อมูลข่าวสารผ่านการได้ยิน ไม่ว่าจะใส่หรือไม่ใส่เครื่องช่วยฟัง 2. คนตึง หมายถึง คนที่มีการได้ยินเหลืออยู่พอเพียงที่จะรับข้อมูลข่าวสารผ่านทางการได้ยิน โดยทั่วไปจะใส่เครื่องช่วยฟัง

ระดับการสูญเสียการได้ยิน 1. ตึงเล็กน้อย 26 - 40 เดซิเบล 2. ตึงปลานกลาง 41 - 55 เดซิเบล 3. ตึงมาก 56 - 70 เดซิเบล 4. ตึงรุนแรง 71 - 90 เดซิเบล 5. หูหนวก 90 เดซิเบลขึ้นไป

3. บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง คนที่มีพัฒนาการช้ากว่าคนปกติทั่วไป เมื่อ วัดโดยใช้แบบทดสอบมาตราฐาน แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ 1. บกพร่องระดับเล็กน้อย ระดับเชาว์ ประมาณ 50 - 70 2. บกพร่องระดับปานกลาง ระดับเชาว์ ประมาณ 35- 49 3. บกพร่องระดับรุนแรง ระดับเชาว์ ประมาณ 20 - 34 4. บกพร่องระดับรุนแรงมาก ระดับเชาว์ ประมาณ ต่ำกว่า 20

4. บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ หมายถึง คนที่มี อวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรงมีความพิการของระบบประสาท มีความลำบากในการเคลื่อนไหวซึ้งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในสภาพปกติ

5. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ หมายถึง คนที่มี ความบกพร่องอย่างใดย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างในกระบวนการพื้นฐานทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับการเข้าใจหรือการใช้ภาษา

6. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา หมายถึง คนที่มีความบกพร่องในการออกเสียง เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือความบกพร่องในเรื่องความเข้าใจ และการใช้ภาษาพูด

7.บุคคลที่มีปัญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ หมายถึง คนที่มี พฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากปกติอย่างมาก และเป็นอย่างต่อเนื่อง ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม

8. บุคคลออทิสติก หมายถึง บุคคลที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการทางสังคม ภาษาและการสื่อความหมาย พฤติกรรม อารมณ์ และจินตนาการ ซึ้งมีสาเหตุเนื่องจากการทำงานของสมองบางส่วนที่ผิดปกติไป และ พบได้ก่อนวัย 30 เดือน

ลักษณะของบุคคลออทิสติก 1. มีความบกพร่องทางปฎิสัมพันธ์ทางสังคม 2. มีความบกพร่องทางการสื่อสาร 3. มีความบกพร่องทางด้านพฤติกรรมและอารมณ์ 4. มีความบกพร่องด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัส 5. มีความบกพร่องด้านการใช้อวัยวะต่าง 6. มีความบกพร่องด้านจินตนาการ 7. มีความบกพร่องด้านสมาธิ

9. บุคคลพิการซ้อน หมายถึง คนที่มีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่าหนึ่งประเภทในบุคคลเดียวกัน เช่น คนปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน เป็นต้น