การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
Advertisements

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
Minitab for Product Quality
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
รู้จักและใช้งานโปรแกรม SPSS for Windows เบื้องต้น
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
คะแนนและความหมายของคะแนน
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
(Descriptive Statistics)
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา Descriptive Statistics

ประเภทสถิติ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นการนำเสนอข้อมูลทั้งในรูปกราฟและสถิติเบื้องต้น สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) คือการวิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่างแล้วนำผลการวิเคราะห์นั้นอ้างอิงถึงลักษณะสำคัญของประชากร ประกอบด้วย การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐานที่ใช้พารามิเตอร์และไม่ใช้พารามิเตอร์

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นการอธิบายหรือบรรยายลักษณะของข้อมูลที่เก็บรวบรวม แต่จะไม่สามารถอ้างอิงถึงลักษณะประชากรได้ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย การนำเสนอข้อมูล ประกอบด้วย การนำเสนอในรูปตาราง การนำเสนอในรูปกราฟ

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) … ต่อ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย (ต่อ) การวัดค่ากลางของข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) มัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode)

trimmed mean

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) … ต่อ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย (ต่อ) การวัดการกระจายของข้อมูล ประกอบด้วย พิสัย (Range) ค่าแปรปรวน (Variance) พิสัยควอไทล์ (Interquartile Range) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) … ต่อ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย (ต่อ) การวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูล ประกอบด้วย การวัดความเบ้ (Skewness) การวัดความโด่ง (Kurtosis)

การแสดงค่าสถิติเชิงพรรณนาแยกตามชนิดของตัวแปร ข้อมูลเชิงกลุ่ม (Categorical Data) เป็นข้อมูลระดับนามบัญญัติ และเรียงลำดับ สามารถแสดงข้อมูลได้ 2 รูปแบบคือ แสดงในรูปตาราง (Tabular Methods) แสดงในรูปกราฟ (Graphical Methods) Bar Graph (Histogram) Pie Chart

การแสดงค่าสถิติเชิงพรรณนาแยกตามชนิดของตัวแปร … ต่อ ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เป็นข้อมูลชนิด ตัวเลขที่มีค่าจริง คือเป็นระดับอันตรภาคและระดับอัตราส่วน เช่น อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง สามารถแสดงข้อมูลได้ 2 รูปแบบคือ แสดงเป็นค่าสถิติ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน แสดงด้วยกราฟ เช่น Histogram , Box-Plot

การวัดค่ากลางของข้อมูลแยกตามชนิดของข้อมูล นามบัญญัติ (Nominal) ใช้ฐานนิยม (Mode) เรียงลำดับ (Ordinal) ใช้มัธยฐาน (Median) อันตรภาคหรืออัตราส่วน (Interval/Ratio) ใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) A little exercise

สูตรที่ใช้คำนวณค่าสถิติต่าง ๆ ของข้อมูลเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้วัดค่ากลางของข้อมูลเชิงปริมาณ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่ามัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) ควอไทล์ (Quartile)

สูตรที่ใช้คำนวณค่าสถิติต่าง ๆ ของข้อมูลเชิงปริมาณ … ต่อ สถิติที่ใช้ในการวัดการกระจายของข้อมูลเชิงปริมาณ พิสัย (Range) พิสัยควอไทล์ (Interquartile Range : IQR) ค่าแปรปรวน (Variance) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

Variance ความแปรปรวน คล้ายกับค่าความเบี่ยงเบนของแต่ละคะแนนจากค่ามัชฌิมเลขคณิต โดยเฉลี่ย จริงๆ แล้ว มีรากฐานอยู่บนผลรวมของค่าเบี่ยงเบนยกกำลังสองจากค่ามัชฌิมเลขคณิต (sum of squared deviations from the mean—“sum-of-squares”)

Variance ความแปรปรวน computational form:

Variance ความแปรปรวน ข้อควรจำ: หน่วยของความแปรปรวนนี้ถูกคำนวณโดยการยกกำลังสอง ด้วยเหตุนี้ ทำให้การแปลความหมายของความแปรปรวน ทำได้ยาก ex.: projectile point sample: mean = 22.6 mm variance = 38 mm2 หมายความว่าอย่างไร

Standard deviation square root of variance:

Standard deviation หน่วยอยู่ในรูปแบบเดียวกับหน่วยวัดพื้นฐาน (หน่วยที่ใช้ในการเก็บข้อมูล) ex.: projectile point sample: mean = 22.6 mm standard deviation = 6.2 mm

ลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูลเชิงปริมาณ เส้นโค้งแบ่งเป็น 3 ชนิดคือ เส้นโค้งปกติ (Normal Distribution) คือ ค่าเฉลี่ย = ค่ามัธยฐาน = ฐานนิยม เส้นโค้งเบ้ขวา (Skewness to the Right) คือ ค่าเฉลี่ย > ค่ามัธยฐาน,ฐานนิยม เส้นโค้งเบ้ซ้าย (Skewness to the left) คือ ค่าเฉลี่ย < ค่ามัธยฐาน,ฐานนิยม

ลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูลเชิงปริมาณ … ต่อ ความเบ้ (Skewness) เป็นค่าที่ใช้วัดลักษณะของเส้นโค้งหรือลักษณะของข้อมูลว่าเบ้หรือไม่ แบ่งเป็น ค่าความเบ้ที่คำนวณได้จะไม่มีหน่วย ค่าที่คำนวณได้เป็น 0 แสดงว่าแจกแจงปกติ ค่าที่คำนวณได้เป็นบวกแสดงว่าเบ้ขวา ค่าที่คำนวณได้เป็นลบแสดงว่าเบ้ซ้าย

right (positive) skew skew (skewness) left (negative) skew

ลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูลเชิงปริมาณ … ต่อ ความโด่ง (Kurtosis) เป็นค่าที่ใช้วัดความโด่งของกราฟข้อมูลเชิงปริมาณ แบ่งเป็น ความโด่งเท่ากับ 0 กราฟเป็น Normal ความโด่งเป็นลบ กราฟป้านหรือโค้งน้อย ความโด่งเป็นบวก กราฟมียอดสูงหรือโค้งมาก

kurtosis [“peakedness”] ‘leptokurtic’ ’platykurtic’