พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินการทางวินัย ลูกจ้างประจำ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
การควบคุม.
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
การวัดผล (Measurement)
มิติใหม่ของการบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่ง ตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
การคิดวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางาน
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หลักการเขียนโครงการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
การเขียนโครงการ.
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินค่างาน ตามแนวทางของระบบจำแนกตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 47 กระจาย อำนาจ การ กำหนด ตำแหน่ง ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด และเป็นตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกำหนด โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด และต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48

เนื้อหา ความหมายของการประเมินค่างาน หลักการและแนวคิดของการประเมินค่างาน

การประเมินค่างาน JOB EVALUATION

ความหมายของการประเมินค่างาน “ การประเมินค่างาน เป็นวิธีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อตีค่างาน โดยเป็นกระบวนการวัดความสัมพันธ์หรือคุณค่างาน ของตำแหน่ง ที่ไม่ใช่วัดปริมาณงาน ซึ่งเป็นการนำงานทั้งหมด มาเปรียบเทียบกันภายใต้ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เป็นตัววัดหลัก เพื่อตีค่างานออกมา ”

ทำไมต้องมีการประเมินค่างาน ในบริบทของภาคราชการพลเรือนไทย เพื่อให้การกำหนดระดับตำแหน่งใน ภาคราชการพลเรือนมีมาตรฐาน เป็นธรรม และไม่เหลื่อมล้ำกันระหว่างส่วนราชการ

เมื่อไหร่ต้องมีการประเมินค่างาน 1 มีการกำหนดตำแหน่งขึ้นใหม่ในหน่วยงาน 2 หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพงานของตำแหน่งเปลี่ยนไป

ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD กระบวนการประเมินค่างาน วิเคราะห์งาน JA ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD วิธีการ JE วินิจฉัย ตีค่างาน กำหนด ระดับ ตำแหน่ง ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair

หลักการประเมินค่างาน 1 ต้องเข้าใจงาน - ต้องมีการวิเคราะห์งาน 2 ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง 3 มีมาตรฐาน - ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง 4 ไม่มีอคติ – เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม 5 ตรวจสอบให้แน่ใจ - ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง

ขั้นตอนการประเมินค่างาน ขั้นศึกษา ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นนำเสนอ