การประเมินค่างาน ตามแนวทางของระบบจำแนกตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 47 กระจาย อำนาจ การ กำหนด ตำแหน่ง ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด และเป็นตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกำหนด โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด และต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48
เนื้อหา ความหมายของการประเมินค่างาน หลักการและแนวคิดของการประเมินค่างาน
การประเมินค่างาน JOB EVALUATION
ความหมายของการประเมินค่างาน “ การประเมินค่างาน เป็นวิธีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อตีค่างาน โดยเป็นกระบวนการวัดความสัมพันธ์หรือคุณค่างาน ของตำแหน่ง ที่ไม่ใช่วัดปริมาณงาน ซึ่งเป็นการนำงานทั้งหมด มาเปรียบเทียบกันภายใต้ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เป็นตัววัดหลัก เพื่อตีค่างานออกมา ”
ทำไมต้องมีการประเมินค่างาน ในบริบทของภาคราชการพลเรือนไทย เพื่อให้การกำหนดระดับตำแหน่งใน ภาคราชการพลเรือนมีมาตรฐาน เป็นธรรม และไม่เหลื่อมล้ำกันระหว่างส่วนราชการ
เมื่อไหร่ต้องมีการประเมินค่างาน 1 มีการกำหนดตำแหน่งขึ้นใหม่ในหน่วยงาน 2 หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพงานของตำแหน่งเปลี่ยนไป
ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD กระบวนการประเมินค่างาน วิเคราะห์งาน JA ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD วิธีการ JE วินิจฉัย ตีค่างาน กำหนด ระดับ ตำแหน่ง ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair
หลักการประเมินค่างาน 1 ต้องเข้าใจงาน - ต้องมีการวิเคราะห์งาน 2 ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง 3 มีมาตรฐาน - ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง 4 ไม่มีอคติ – เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม 5 ตรวจสอบให้แน่ใจ - ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง
ขั้นตอนการประเมินค่างาน ขั้นศึกษา ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นนำเสนอ