(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
โครงการสัมมนา การจัดการความรู้เพื่อยกระดับ โดย นางนีรนุช แสวานี
Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
การจัดการองค์ความรู้ และประสบการณ์คณะแพทยศาสตร์
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส.
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
Knowledge Management (KM)
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
Corporate Marketing Headquarters (CMH)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
Communities of Practice (CoP)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
Ba คืออะไร Ba หมายถึง สถานที่ หรือ พื้นที่ ที่กลุ่มคนมาอยู่รวมกัน แลกเปลี่ยนความรู้ และสร้างความรู้ ซึ่งพื้นที่อาจเป็นพื้นที่ทางกายภาพ จริง พื้นที่เสมือนจริง.
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
29th Chumphol hospital.
สวัสดีค่ะ อาจารย์ จิติณัฐ และเพื่อนๆทุกคน.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
ประเมินเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุด ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success) Professor Ikujiro Nonaka ศาสตราจารย์เกียรติคุณแห่งมหาวิทยาลัยฮิโตซึบาชิ ประเทศญี่ปุ่น บรรยายให้ความรู้ในเรื่อง“การจัดการความรู้ เครื่องมือสู่ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์”  (Knowledge Management :  A Tool for Strategic Success)  การสัมมนาวิชาการ เวทีนวัตกรรม ครั้งที่ 3 ที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2550 ณ ห้อง ESCAP Hall ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กระบวนการในการสร้างความรู้ ซึ่งเกิดจากการผสมผสานความรู้ทั้ง 2 ประเภท สามารถถ่ายทอดออกมาได้เป็นแบบจำลอง SECI (SECI Model)ซึ่งแบ่งกระบวนการ ในการสร้างความรู้ออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ

การสร้างสังคมความรู้ ความรู้ในตัวคน ความรู้ฝังลึกอยู่ในตัวบุคคล (TACIT KNOWLEDGE) เช่น ทักษะ ความชำนาญ อุดมคติ ความเชื่อ ฯลฯ ความรู้นอกตัวคน ความรู้ที่ชัดแจ้ง ( EXPLICIT KNOWLEDGE ) เช่น ทฤษฎี ภาษา ข้อมูล ตำรา ฯลฯ ความรู้ในตัวคน ความรู้ในตัวคน การสร้างสังคมความรู้ การถ่ายทอดความรู้ ช ช ก บ บ ความรู้ในตัวคน ความรู้นอกตัวคน บ บ บ บ บ การใช้ความรู้ใหม่ สู่การปฏิบัติ การผสมผสานความรู้ เป็นความรู้ใหม่ ช อ ความรู้ในตัวคน ก ก ความรู้นอกตัวคน อ ช บ ก ก ก ความรู้นอกตัวคน ความรู้นอกตัวคน บ = ตัวบุคคล ก = กลุ่มคน อ = องค์กร ช = ชุมชน

ของบุคคลากรและองค์กรอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา S = Socialization เป็นการสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์ด้วยการพบปะสมาคม หรือการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น การพูดคุย ใช้เวลาอยู่ด้วยการ การสอนงาน ฝึกงาน เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอด แบ่งปัน ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลไปให้ผู้อื่น E = Externalization เป็นการถ่ายทอดความรู้ โดยการอธิบายหรือแสดงความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลออกมาให้เป็นที่ประจักษ์ เพื่อให้ผู้อื่นได้รับการแบ่งปัน โดยการแปลงความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลออกมาเป็นแนวคิดภาษาสัญลักษณ์ ลายลักษณ์อักษร เช่น คู่มือ ตำรา ภาพ การบันทึกเสียง เป็นต้น C = Combination เป็นการผสมผสาน โดยนำความรู้ที่ชัดแจ้งมาสร้างสรรค์ หรือเปลี่ยนแปลงให้เป็นความรู้ที่ชัดแจ้ง ในเรื่องใหม่ ๆ มีความซับซ้อนมากขึ้น หรือเป็นขั้นเป็นตอนมากขึ้น เพื่อให้สามารถนำความรู้นั้นไปใช้ในทางปฏิบัติได้ง่ายขึ้น I = Internalization เป็นการนำความรู้ที่ได้มาใหม่ไปใช้ปฏิบัติหรือลงมือทำจริง ๆ จนกลายเป็นความรู้ของตนเอง ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนความรู้ที่ชัดแจ้งให้กลายเป็นความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล ดังนั้น กระบวนการในการสร้างความรู้ที่จะเกิดประโยชน์จริง ๆ นั้น จะต้องมีการนำความรู้ไปลงมือ ปฏิบัติ และมีการหมุนเวียน กระบวนการ SECI ไปเรื่อย ๆ อย่างไม่มีวันยุติ นำไปสู่การปรับปรุงตนเอง ของบุคคลากรและองค์กรอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา