บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
หลักการบันทึกข้อความ
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
Thesis รุ่น 1.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การวางแผนและการดำเนินงาน
หลักการ แนวคิด กระบวนการ เกี่ยวกับอุทธรณ์และร้องทุกข์
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การจัดกระทำข้อมูล.
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การเขียนรายงานการวิจัย
การตั้งเรื่องกล่าวหา
การจัดทำ Research Proposal
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
การเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant Information Sheet) โดย นางนวี เอกศักดิ์ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (Layperson)
กระบวนการวิจัย Process of Research
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
การรับฟังพยานหลักฐาน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
แนวคิดเกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วิธีสอนแบบอุปนัย.
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ. บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ. บทบาทและจรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์

บทบาทและจรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ บทบาทและจรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ มีคำที่จะต้องทำความเข้าใจเสียก่อน 3 คำ คือ 1. บทบาท 2. จรรยา 3. ผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ P.E .1

บทบาท บทบาท Role หมายถึง หน้าที่ที่พึงปฏิบัติหรือ แสดงออก บทบาทของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ หน้าที่ที่พึงปฏิบัติหรือแสดงออกของผู้ดำเนินการ เกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ P.E 2

จรรยา ETHICS หมายถึง หลักที่พึงประพฤติ จรรยาของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ หลักที่พึงประพฤติของผู้ดำเนินการเกี่ยวกับวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ P.E .3

ผู้ดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ ผู้ควบคุมดูแล ผู้แสวงหาและรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอเรื่องต่อผู้พิจารณาวินิจฉัย ผู้พิจารณาวินิจฉัย ผู้ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัย P.E .4

ขั้นตอนในการดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ ขั้นตอนในการดำเนินการเกี่ยวกับ วินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ ควบคุมดูแล แสวงหาและรวบรวมข้อมูล นำเสนอเรื่องต่อผู้พิจารณา พิจารณาวินิจฉัยเรื่อง ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัย P.E .5

บทบาทของผู้ควบคุมดูแล เกี่ยวกับวินัย มีลักษณะคล้ายตำรวจในกระบวนการยุติธรรม P.E .6

วิธีการแสวงหาข้อมูล สอบถาม สืบสวน สอบสวน P.E .7

บทบาทในการแสวงหาและรวบรวมข้อมูลมีลักษณะคล้ายพนักงานสอบสวนในกระบวนการยุติธรรม P.E .8

สาระสำคัญในบันทึกเสนอเรื่อง ชื่อเรื่อง ชนิดของเรื่อง ความเป็นมาของเรื่อง ข้อมูลประกอบเรื่อง การวิเคราะห์เรื่อง ความเห็นของผู้เสนอ P.E. 9

วัตถุประสงค์ของการเขียนชื่อเรื่อง ให้รู้ใจความว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอะไร ให้สามารถแยกความแตกต่างจากเรื่องอื่นได้ ให้สามารถแยกเก็บและค้นหาอ้างอิงได้ง่าย P.E. 10

การวิเคราะห์เรื่อง เป็นการพิจารณาหาคำตอบในประเด็นที่เป็นปัญหา ของเรื่อง เช่น ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยหรือไม่ อุทธรณ์ฟังขึ้นหรือไม่ ควรปลดเปลื้องทุกข์ให้แก่ผู้ร้องทุกข์อย่างไร โดยใช้หลักเกณฑ์และเหตุผลสนับสนุนคำตอบนั้น P.E. 11

หลักเกณฑ์และเหตุผลประกอบเรื่อง ตรรกวิทยา จิตวิทยา หลักวิชา กฎเกณฑ์ ผลดีผลเสีย ระดับมาตรฐาน ความเป็นธรรม มโนธรรม ข้อจำกัด ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ นโยบายและแผนงาน P.E. 12

การเสนอเรื่องด้วยวาจา ควรเสนอให้มีสาระสำคัญตามลำดับ ดังนี้ เรื่องนี้เป็นเรื่องในลักษณะใด เรื่องนี้มีความเป็นมาอย่างไร ข้อเท็จจริงได้ความตามเรื่องอย่างไร มีประเด็นต้องวินิจฉัยอย่างไร ผู้เกี่ยวข้องมีความเห็นอย่างไร ผู้นำเสนอมีความเห็นอย่างไร P.E. 13

การนำเสนอเรื่องต่อผู้พิจารณา เป็นบทบาทที่มีลักษณะคล้ายอัยการในกระบวนการยุติธรรม P.E. 14

บทบาทในการวินิจฉัยเรื่อง การวินิจฉัยเรื่อง เป็นบทบาทของ ผู้บังคับบัญชาและ อ.ก.พ. ซึ่งคล้ายกับ ผู้พิพากษาในกระบวนการยุติธรรม P.E. 15

การดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัย เป็นบทบาทที่มีลักษณะคล้ายกรมราชทัณฑ์และ กรมคุมประพฤติของกระทรวงยุติธรรม                                                                                 P.E. 16