การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การเลือกคุณภาพสินค้า
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
ระบบการบริหารการตลาด
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency)
การวางแผนกลยุทธ์.
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
การประเมินผลการเรียน
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การวิเคราะห์ Competency
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 3 Planning.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สป.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์STP
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การบริหารองค์กรและบุคลากร
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน ชัยฤกษ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ

ในงานชลประทานมีการตัดสินใจที่สำคัญในหลายๆ เรื่อง ดังนั้นการที่มีวิธีหรือกระบวนการที่จะช่วยให้การตัดสินใจได้ดียิ่งขึ้นย่อมจะเป็นประโยชน์ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Analytic Hierarchy Process , AHP คืออะไร ? กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น ( Analytic Hierarchy Process , AHP ) เป็นวิธีการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ ( Multi – Criteria Decision Making Method )

จุดเด่นของ AHP คืออะไร? เป็นกระบวนการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้กับการตัดสินใจที่มีความยุ่งยากซับซ้อนได้

การนำ AHP มาใช้กับงานชลประทาน การเลือกทางเลือก การจัดลำดับความสำคัญ การตัดสิน เรื่องกฎเกณฑ์ต่างๆ การวางแผน การคาดการณ์ การประเมินผล

AHP ต้องใช้อะไรบ้าง? เกณฑ์ ( กำหนดโดยผู้ตัดสินใจ ) การเปรียบเทียบตามเกณฑ์ ( พิจารณาโดยผู้ตัดสินใจ ) ตารางระดับความสำคัญหรือความชอบ

รูปแบบของ AHP AHP จะแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็นระดับชั้น คือ เป้าหมาย เกณฑ์ เกณฑ์ย่อย และทางเลือก จากนั้นให้วิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์หรือทางเลือกทีละคู่ ตามตารางระดับความสำคัญ หรือความชอบ แล้วก็คำนวณหาน้ำหนักความสำคัญ หรือลำดับความสำคัญของแต่ละชั้น

ขั้นตอนการดำเนินการ AHP 1. การจัดลำดับชั้นในการวิเคราะห์ ( Structuring the Hierachy ) จัดทำเป็นแผนภูมิระดับชั้น ระดับชั้นบนสุด คือเป้าหมาย หรือปัญหาที่ต้องการตัดสินใจ ( Goal ) ระดับชั้นที่ 2 คือเกณฑ์หลัก ( Criteria ) ระดับชั้นที่ 3 คือเกณฑ์ย่อย ( Subcriteria )(ถ้ามี) ระดับชั้นสุดท้าย คือ ทางเลือก ( Alternative )

เป้าหมาย เกณฑ์ เกณฑ์ย่อย ทางเลือก

2 การคำนวณหาลำดับความสำคัญ ( Calculation of Relative Priority ) ในแต่ระดับชั้นให้พิจารณาเปรียบเทียบความสำคัญของเกณฑ์ต่างๆในระดับชั้นเดียวกัน โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์ หรือทางเลือกทีละคู่ ( Pairwise Comparison ) ตามตารางระดับความสำคัญ หรือความชอบ ( Standard Preferrence Table ) แล้วก็คำนวณหาน้ำหนักความสำคัญ หรือลำดับความสำคัญของแต่ละชั้น

1 = Equally 3 = Moderate 5 = Strong 7 = Very Strong 9 = Extreme 2 , 4 , 6 , 8 ใช้เมื่อมีความแตกต่างกันบ้างในระหว่างช่วงระดับต่างๆ

ตัวอย่างการเปรียบเทียบความสำคัญ การเลือกซื้อสินค้า โดยใช้เกณฑ์ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ A มีคุณภาพสูงกว่าผลิตภัณฑ์ B โดยให้ A มีค่าระดับเปรียบเทียบมากกว่า (Very Strongly Preferred) ของ B หรือแสดงเป็นตัวเลขเท่ากับ 7 เมื่อเปรียบเทียบกลับกันผลิตภัณฑ์ B ก็จะมีคุณภาพเป็น 1/7 ของผลิตภัณฑ์ A หมายเหตุ ทางเลือกเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบแนวตั้งและแนวนอนจะแสดงตัวเลขเท่ากับ 1

การตัดสินใจเลือกซื้อบ้าน ราคา ทำเล ลักษณะบ้าน บ้าน B C การเลือกซื้อบ้าน A

จะเห็นว่าตัวเลขของการจัดลำดับความสำคัญจะออกมาเป้นตัวเลขที่ได้จากการคำนวณไม่ได้จากการนึกขึ้นมาลอย เช่น 60, 30 ,10 แต่เป็น 62 , 29, 11 เป็นต้น

จบการนำเสนอ