ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์ เสนอ บทความเรื่อง การปลูกถ่ายกระดูกปีกสะโพกของตัวเองที่ ขากรรไกรล่างใน สุนัข
บทนำ ประโยชน์และหน้าที่ของกระดูก เป็นที่เกาะยึดของกล้ามเนื้อทำให้กล้ามเนื้อวางตัวอยู่อย่างแข็งแรง มีส่วนช่วยในการป้องกันอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ (heart),ปอด (lung), สมอง (brain) ไม่ให้ได้รับอันตรายหรือไม่ให้ กระทบกระเทือน สร้าง cell เม็ดเลือดพวกเม็ดเลือดแดง (rbc),เม็ดเลือดขาว (wbc),เกล็ดเลือด (platelet) ช่วยในการเคลื่อนไหวและการหายใจเข้าและออก เช่น กระดูกซี่โครง (ribs) รักษาระดับสมดุลแคลเซี่ยม (calcium) ในเลือด
การปลูกถ่ายกระดูกปีกสะโพกของตัวเองที่ขากรรไกรล่างในสุนัข ทำไหมจึงต้องศึกษาเรื่องนี้ ? ในการแก้ไขกระดูกหักที่มีเนื้อกระดูกสูญหายกระดูกต่อติดช้าหรืออาจต่อไม่ติด จำเป็นต้องทำการปลูกถ่ายกระดูก การปลูกถ่ายกระดูกแบบวิธีเก่าๆ (ใช้กระดูกตัวอื่น) อาจทำให้ร่างกายของสัตว์ไม่ยอมรับ การปลูกถ่ายกระดูกแบบวิธีเก่าๆใช้เวลานาน
การเจริญของกระดูก Endochondral ossification - การเจริญโดยอาศัย กระดูกอ่อน (cartilage) Intramembranous ossification - มีการเจริญในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
1. Endochondral Ossification
1. Endochondral Ossification
2. Intramembranous ossification
2. Intramembranous ossification
ประโยชน์ที่ได้จากการทดลอง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ทางคลินิกได้ ประหยัดเวลาในการรักษามากขึ้น ลดการติดเชื้อในช่วงเวลาที่ทำการรักษาและเวลาพักฟื้น ได้ ลดความเจ็บปวดในสุนัขที่ทำการรักษา สุนัขสามารถใช้ขากรรไกรล่างได้ตามปกติ