บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Strength of Materials I EGCE201 กำลังวัสดุ 1
Advertisements

สนามกีฬา.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
Bipolar Junction Transistor
FAILURE CRITERIA OF ROCKS
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
วัสดุวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วัสดุในการก่อสร้าง: ส่วนที่ 2/2
Introduction to aircraft materials
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 10 Reinforced Beams
Chapter 7 Restrained Beams
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
ว ความหนืด (Viscosity)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
Lab 14: Unconfined Compression Test
Soil Mechanics Laboratory
การออกแบบ Cellular Beams
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
การเสนอโครงการวิจัย.
เลื่อยมือ hack saw.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
Mold Design # 2 ส่วนประกอบของแม่พิมพ์
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
Magnetic Particle Testing
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การสร้างแบบเสื้อและแขน
การจัดองค์ประกอบของภาพ
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ดาวพลูโต (Pluto).
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
Spherical Trigonometry
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
ทรงกลม.
แผนการจัดการเรียนรู้
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ความยืดหยุ่น Elasticity
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test 1302 423 Industrial Materials Testing Dr. Sukangkana Lee

ทิศทางของแรงอัดจะตรงข้ามกับการทดสอบโดยการดึง วัตถุประสงค์หลักของการทดสอบ ทดสอบความต้านทานต่อแรงกดอัดของวัสดุ ศึกษาลักษณะการเสียรูป หรือแตกหักของชิ้นงาน

ลักษณะของการทดสอบแรงอัด การทดสอบโดยการอัด นิยมใช้ทดสอบวัสดุที่มีคุณสมบัติเปราะ เช่น เหล็กหล่อ หรือคอนกรีต เพราะจะให้ผลการทดสอบถูกต้องแน่นอนกว่าการทดสอบกับโลหะเหนียว การทดสอบเริ่มจากเพิ่มแรงอัดอย่างช้าๆ และสม่ำเสมอ จนกระทั่งชิ้นงานเสียรูป และแตก รูปร่างของชิ้นงานจะเป็น ทรงกระบอก หรือลูกบาศก์

4. การเสียรูปอาจจะมีลักษณะพองออก เหมือน รูปถัง (Barrel) ซึ่งจะไม่เกิดคอคอดเหมือนกับการทดสอบ โดยการดึง F F

ข้อควรระวังในการทดสอบ ส่วนปลายชิ้นทดสอบ จะต้องตกแต่งหรือเตรียมให้พื้นผิวราบและตั้งฉากกับแกนชิ้นทดสอบ เพราะจะทำให้แรงอัดสามารถกระทำได้ตามแนวแกนชิ้นทดสอบ ชิ้นงานเอียงเนื่องจากแรงอัดไม่กระทำตามแนวแกนและมีแรงเสียดทาน

ชิ้นงานโก่งงอเนื่องจากชิ้นทดสอบอาจสูงเกินไป ขณะทดสอบมักจะเกิด การโก่งงอได้ ซึ่งเรียกว่า Buckling หรือเกิดการดัดเนื่องจาก มีความเค้นดัด (Bending stress) เนื่องจากชิ้นทดสอบมีความสูงเกินไป เมื่อเทียบกับพื้นที่หน้าตัด ชิ้นงานโก่งงอเนื่องจากชิ้นทดสอบอาจสูงเกินไป

เนื่องจากการขยายตัวออกทางด้านข้างของชิ้นทดสอบ ส่งผลให้ เกิดความเสียดทานบริเวณผิวสัมผัสระหว่างแท่นรองรับ (Bearing block) กับปลายชิ้นทดสอบ จะเป็นผลทำให้เกิดระบบความเค้นที่ซับซ้อน ซึ่งก่อให้เกิดความยุ่งยากมากในการคำนวณหาความเค้นที่ถูกต้อง

ในทางปฎิบัตินิยมเลือกใช้ชิ้นทดสอบที่มีขนาด ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนสูงและพื้นที่หน้าตัดของชิ้นทดสอบ จะต้องมีอัตราส่วนตามมาตรฐานและเหมาะสมกับเครื่องทดสอบ ในทางปฎิบัตินิยมเลือกใช้ชิ้นทดสอบที่มีขนาด ความสูง (h) ประมาณ สองเท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลาง (d) ( h2d )

พฤติกรรมของวัสดุภายใต้แรงอัด 1. วัสดุเปราะ เช่น เหล็กหล่อ และ คอนกรีต เมื่อได้รับแรงอัดสูงเกินกว่าความสามารถที่จะรับไว้ได้ ก็จะเกิดการแตกทันที โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดรูปร่าง

รอยแตกของโลหะเปราะภายใต้แรงอัด จะมีรอยแตกทำมุมประมาณ 45 องศา กับแนวแรง แสดงว่าแตกหักด้วย แรงเฉือน (Shear) ทั้งนี้เพราะว่าวัสดุเปราะ มีค่า ความแข็งแรงเฉือนสูงสุดต่ำกว่า ความแข็งแรงอัดสูงสุด และความแข็งแรงดึงสูงสุด 45°

2. โลหะเหนียว เช่นเหล็กกล้า และ อลูมิเนียม เมื่อได้รับแรงอัดสูงเกินกว่าความแข็งแรงที่จุดคราก ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขยายโตขึ้น พองออกเหมือนถัง (Barrel shape) ซึ่งทำให้มีพื้นที่รองรับแรงอัดได้เพิ่มขึ้น

d h จากมาตรฐาน ASTME9 ได้กำหนดสัดส่วนของชิ้นงานที่เหมาะสมไว้ดังนี้ 1. Short specimen h=0.9d เหมาะสำหรับ Bearing metal 2. Medium specimen h=3d เหมาะสำหรับการทดสอบทั่วไป 3. Long specimen h=8d เหมาะสำหรับการหาค่า Modulus of elasticity Z d h Y X

Mechanical properties Percent of compression 60 50 40 30 20 10 0 Compressive strength Zn 500 1000 1500 Steel Cast iron โลหะส่วนใหญ่จะมีค่าความต้านทานแรงอัดสูงสุด (Ultimate compressive strength) มากกว่า ความต้านทานแรงดึงสูงสุด (Ultimate tensile strength)

Δh hO dO df hf Vertical strain Horizontal strain

Compression strength Poission ratio Young’s Modulus (Elastic limit)

วิธีการทดสอบ แท่นกดบน แท่นกดล่าง specimen Spherical seat Spherical Bearing block Bearing block

Spherical Bearing block Spherical seat Bearing block

Spherical seat จะช่วยกระจายแรงอัดให้สม่ำเสมอทั่วทั้วพื้นที่หน้าตัด การอัดต้องอัดตามแนวแกน และจากเพิ่มแรงอัดอย่างช้าๆ และสม่ำเสมอ สิ้นสุดการทดสอบเมื่อ วัสดุเปราะ อัดจนชิ้นทดสอบแตก วัสดุเหนียว อัดจนชิ้นทดสอบมีความสูงเหลือเพียง หนึ่งในสาม ของความสูงเดิม บันทึกค่าแรงอัดสูงสุด