วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
กลไกการวิวัฒนาการ.
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
บรรยากาศ.
Leaf Monocots Dicots.
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
Water relation : Soil-Plant-Atmosphere continuum
Physiology of Crop Production
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
Cell Specialization.
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
นำปุ๋ยคอกบรรจุในกระสอบปุ๋ยจนเต็มกระสอบ
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
การสืบพันธุ์ของพืช.
ทบทวนความรู้เดิม.
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
ดินถล่ม.
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ดาวพุธ (Mercury).
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การป้องกันกำจัด  เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยขุด ทำลายตอยางเก่า  ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังเตรียมดิน แล้วควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อ ปรับสภาพดินให้เหมาะกับการ.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ประวัติ ส่วนตัว.
การรักษาสมดุลร่างกาย (Homeostasis)
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
Kingdom Plantae.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา สรีรวิทยาของพืช (1202 320) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552

การลำเลียงน้ำในต้นพืช เส้นทางลำเลียงน้ำต่อเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย น้ำจากดินถูกดูดเข้าสู่รากขนอ่อน น้ำถูกลำเลียงจากรากเข้าสู่ลำต้น = -0.3 Mpa  = -0.6 MPa จากลำต้นเช้าสู่ใบ จากใบออกสู่บรรยากาศ = -0.8 Mpa  = - 95 MPa

การดูดน้ำของราก - รากขนอ่อนหรือปลายราก เป็นบริเวณที่ทำหน้าที่ดูดน้ำ - รากขนอ่อนหรือปลายราก เป็นบริเวณที่ทำหน้าที่ดูดน้ำ รากที่มีอายุมากดูดน้ำได้น้อย

การดูดน้ำจากดินเข้าสู่ราก เซลล์เอพิเดอร์มิสของรากขนอ่อน เนื้อเยื่อคอร์เทกซ์ของราก เส้นทางการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เนื้อเยื่อคอร์เทกซ์มี 2 เส้นทาง คือ อะโป พลาสต์(apoplast) และซิมพลาสต์(symplast) เมื่อน้ำเคลื่อนที่มาถึงชั้นเอนโดเดอมิสที่ล้อมรอบท่อลำเลียงของราก ซึงมีแถบแคสแพเรียน (casparion) ผนังเซลล์ด้านรัศมีนี้ไม่ยอมให้น้ำผ่าน น้ำจึงต้องเคลื่อนที่ผ่านพลาสมาเมมเบรน และไซโทพลาสซึมของเซลล์ เอนโดเดอร์มิส

ที่มา : http://www. cic-caracas ที่มา : http://www.cic-caracas.org/departments/science/images/08sym_apoplast.gif

การดูดน้ำจากดินเข้าสู่ราก ดังนั้น เอนโดเดอมิสจึงเป็นชั้นเซลล์ที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของน้ำจากดินเข้าสู่ท่อลำเลียงของรากโดยวิธีออสโมซิส และพลาสมาเมมเบรนของเอนโดเดอมิสยังเป็นด่านที่คัดเลือกอิออนที่เข้าสู่ท่อลำเลียงของรากด้วย

แรงผลักที่ทำให้เกิดการลำเลียงน้ำจากดินเข้าสู่ท่อลำเลียงของราก โดยใน สภาพที่พืชคายน้ำน้อย “คือ ความแตกต่างระหว่าง  ของท่อลำเลียง (ค่าเป็นลบมากเพราะการสะสม อิออน) กับเนื้อเยื่อคอร์เทกซ์” ส่วนใน สภาพการคายน้ำมาก “คือ ความแตกต่างของ  ตั้งแต่ใบ ลำต้น และราก เนื่องจากการคายน้ำ”