การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis Bull &Stallion 7 days Boar 12 days Ram 16 days อาจเพิ่มขึ้น 10-20 % ถ้าความถี่ในการหลั่งเพิ่มขึ้น Fig: testis
การเก็บกักตัวอสุจิ (storage of sperm) Caudal epididymis ประมาณ 70 % Vas deferens ประมาณ 2 % มีการเคลื่อนไหวเล็กน้อยเมื่อเคลื่อนถึงส่วนกลางของ Corpus epididymis และจะเคลื่อนมากขึ้นเมื่อถึง Cauda epididymis & Vas deferens Epithelial cells ของ Epididymis หลั่งสาร Immobilin และ Quiescence factor เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด metabolism ที่ไม่จำเป็น และยืดอายุของอสุจิ
การเก็บกักตัวอสุจิ (ต่อ) บางตัวออกมาพร้อมน้ำปัสสาวะ ขณะที่บางส่วนเมื่อสูญเสียความสามารถแล้วจะถูกย่อยสลายก่อนขับออก การไม่หลั่งนานๆ จะมีอสุจิที่แก่ตัว (stale spermatozoa) อยู่มาก Ejaculated sperm ที่มี droplet อยู่จำนวนมากแสดงว่าตัวอสุจิยังไม่โตเต็มวัย (immaturity)
Seminal plasma มีความสำคัญมากในการผสมแบบธรรมชาติ เพราะเป็นทั้งตัวนำ (carrier) และตัวป้องกัน (protector) แก่ตัวอสุจิ โดยเฉพาะพวกที่หลั่งที่ vagina เช่น โคและแกะ ส่วนม้าและสุกรซึ่งหลั่งที่มดลูก seminal plasma อาจมีความสำคัญน้อยลง ประกอบด้วยสารที่เป็นแหล่งพลังงาน เช่น fructose, Sorbitol, Ergothioneine, Glycerylphosphorylcholine (GPC), hormone (androgen, PG, FSH & LH), peptide, antimicrobial (seminal plasmin)
ต่อมร่วม (Accessory glands)
Sperm metabolism - Glycolysis : Fructose, Sorbitol Lactic acid - Respiration (Oxidative pathway, Oxidation phosphorylation) Enzyme ที่เกี่ยวข้องกับทั้ง 2 ขบวนการอยู่ที่ mitochondria Plasmalogen คือแหล่งพลังงานสำรองหลักในเซลล์อสุจิ
O2 Sorbitol Glycolysis Fructose phosphate Sorbitol dehydrogenase Enz. in female tract Glycero- phosphate Triosphos- phate GPC Pyruvic acid CO2, H2O Krebs Cycle Plasmalogen Acetyl coA CO2, H2O
ปัจจัยที่มีผลต่อ metabolism ของ sperm อุณหภูมิ pH : 6.9-7.5 เหมาะกับการทำงานของ enzyme ในขบวนการ metabolism ที่บริเวณ Cauda epididymis มี pH 5.8 ตัวอสุจิมีการเคลื่อนที่น้อย Osmotic Gas แสง Peroxidation --> loss of permeable