กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
ระบบเศรษฐกิจ.
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
Research Problem ปัญหาการวิจัย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ระบบการบริหารการตลาด
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ธนกิจการเมือง Money Politics.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การประเมินผลการเรียน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
กลุ่มที่ 4.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และปราบปรามผู้มีอิทธิพล
Change Management.
บทที่1 การบริหารการผลิต
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ

กระบวนการนโยบาย มี 3 ขั้นตอนหลักๆ 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) ประกอบด้วย 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.2 การจัดทำหรือการร่างนโยบาย (policy formulation) 1.3 การตัดสินใจหรือการรับนโยบาย (decision making or policy adoption) 1.4 การทำให้นโยบายชอบด้วยกฎหมาย (legitimation) 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) 3. การประเมินผลนโยบาย (policy evaluation)

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) - เกิดปัญหา ต้องมี - ปัญหาเชิงนโยบาย หมายถึง - - ความต้องการ (need) - - ความขาดแคลน - - ความไม่พอใจ - ผู้แสวงหาแนวทางแก้ไข - - ผู้ประสบปัญหา - - ตัวแทน - ต้องเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง - - ก่อให้เกิดความวิตกกังวล - - ความเครียด - - ความไม่พอใจเพียงพอ - - เป็นปัญหาของสาธารณะมิใช่บุคคล

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.1.1 ปัญหาเชิงนโยบาย หมายถึง หัวข้อหรือปัญหาที่มีความสำคัญมากพอที่จะได้รับการแก้ไขโดยรัฐบาล หรือดึงดูดความสนใจผู้กำหนดนโยบาย - ผู้ใดควบคุม - - สามารถกำหนดทิศทางนโยบาย - ปัญหา - - ข้อเสนอแนะหรือประเด็นทางนโยบาย - - มีการแข่งขัน - ปัญหาเชิงนโยบายของสังคมโดยทั่วไป / ปัญหาเชิงนโยบายที่เป็นทางการ - ผู้มีบทบาทกำหนดนโยบาย - - IG - - ผู้นำ / ชนชั้นนำ - - สถาบันของรัฐ

การกำหนดนโยบาย (policy making) 1 การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.1.2 การขยายตัวของปัญหาไปสู่ปัญหาเชิงนโยบาย ปัญหาจะถูกนำเป็นปัญหาเชิงนโยบาย 1)ปัญหาสอดคล้องกับกลุ่มที่มีความสำคัญ (กลุ่ม –อำนาจ – สถานภาพ – จำนวน) 2)สอดคล้องกับนโยบายหลักของผู้นำ 3)ประชาชนสนใจ - -สื่อ

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.2 การเตรียมเสนอร่างนโยบาย ผู้ที่มีส่วนในการเตรียมร่าง ได้แก่ 1) ผู้กำหนดนโยบายที่เป็นทางการ 2) ที่ปรึกษาทางการเมือง 3) กลุ่มผลประโยชน์

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.2 การเตรียมเสนอร่างนโยบาย มีกิจกรรมย่อยๆ ดังนี้ 1) การจัดระเบียบวาระและเปิดให้มีการอภิปราย (input) 2) การสำรวจสถานการณ์ - - นำไปสู่การเลือกแนวทางการจัดทำข้อเสนอนโยบาย - - กำหนดนโยบายขึ้นใหม่ - - หรือปรับปรุงนโยบายเดิม 3) กำหนดทางเลือก - - ตั้งสมมุติฐานจากการเก็บ/วิเคราะห์ข้อมูล - - อุปสรรค ข้อมูลครอบคลุม - - การสนับสนุน / ขัดแย้ง - - สอดคล้องกับพฤติกรรม - - สอดคล้องกับเวลาและสถานการณ์ 4) กำหนดแนวทางการกระทำหรือกิจกรรม

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย - ตัดสินใจเลือก/ปฏิเสธทางเลือก - ผู้กำหนดนโยบาย 1) ฝ่ายนิติบัญญัติ 2) ฝ่ายบริหาร

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => เกณฑ์การตัดสินใจ (1) ทางเลือกต้องเป็นข้อเสนอที่แก้ไขปัญหาได้ดีที่สุด (2) เป็นไปได้มากที่สุด (3) อยู่ในขอบเขตที่ทำได้

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => องค์ประกอบการตัดสินใจ (1) ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ (2) เป้าหมาย (3) ทางเลือก (4) สภาวะแวดล้อม

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => ทฤษฎีการตัดสินใจ (1) ทฤษฎีการตัดสินใจตามหลักเหตุผล (rational comprehensive decision making) (2) ทฤษฎีการตัดสินใจแบบค่อยเป็นค่อยไป (incremental decision making) (3) ทฤษฎีการตัดสินใจแบบผสมผสาน (mixed scanning)

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) =>เกณฑ์การตัดสินใจ (1) ค่านิยม - - ทางการเมือง - - ในองค์การ - - ส่วนบุคคล - - นโยบาย - - อุดมการณ์ (2) ความผูกพันต่อพรรคการเมือง (3) ผลประโยชน์ของผู้เลือกตั้ง (4) มติมหาชน

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => รูปแบบของการตัดสินใจ (1) ต่อรอง (2) ชักชวน (3) ออกคำสั่ง

1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.4 การประกาศเป็นนโยบาย ประกาศให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ - - รูปธรรม ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและปฏิบัติตาม ช่องทาง - - แถลงการณ์ - - สื่อ - - สิ่งพิมพ์รัฐบาล

THANK YOU BYE BYE