กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
Advertisements

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การสร้างคำถาม.
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การเขียนรายงานการวิจัย
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
(Descriptive Statistics)
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี สถิติ โดย มิสกรรณิกา หอมดวงศรี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี

สถิติ หมายถึงตัวเลขที่บอกถึงข้อเท็จจริงต่าง ๆ หรือข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงและเป็นตัวเลขที่อยู่ในลักษณะสรุปรวบยอดซึ่งประมวลมาได้จากข้อมูลเบื้องต้น โดยการวิเคราะห์ มีระเบียบวิธีการทางสถิติ 4 ขั้นตอน 1.การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.การนำเสนอข้อมูล 3.การวิเคราะห์ข้อมูล 4.การตีความหมายข้อมูล

ตารางแจกแจงความถี่ เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยการนำข้อมูลดิบที่เก็บรวบรวมมาจัดให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวกในการนำไปวิเคราะห์แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1. ตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลไม่จัดหมวดหมู่ของข้อมูล 2. ตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลที่จัดหมวดหมู่ของข้อมูล

สิ่งที่ควรทราบจากตารางแจกแจงความถี่ที่จัดหมวดหมู่ของข้อมูล 1. ขีดจำกัดชั้นในแต่ละอันตรภาคชั้นจะมีขีดจำกัดชัน 2 ค่า คือ ขีดจำกัดบนและขีดจำกัดล่าง 2.ขอบเขตชั้นมี 2 ค่าคือ ขอบเขตบนและขอบเขตล่าง ขอบเขตบน = ขีดจำกัดบนของชั้นนั้น + ขีดจำกัดล่างของชั้นถัดไป 2 ขอบเขตล่าง = ขีดจำกัดล่างของชั้นนั้น + ขีดจำกัดบนของชั้นถัดลงมา 3. ความกว้างของอันตรภาคชั้นเป็นค่าความแตกต่างระหว่างขอบเขตชั้นของแต่ละชั้นนั่นคือความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบเขตบน - ขอบเขตล่าง 4. จุดกึ่งกลางชั้นคือค่าของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางระหว่างขอบเขตชั้นหาได้จากสูตร จุดกึ่งกลาง = ขอบเขตล่าง + ขอบเขตบน หรือ ขีดจำกัดล่าง + ขีดจำกัดบน 2 2

ค่ากลางของข้อมูล ค่ากลางของข้อมูลคือค่าที่เป็นตัวแทนของข้อมูลกลุ่มนั้นที่จะนำไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในทีนี้จะกล่าวถึง 3 ชนิดคือ 1.ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2.มัธยฐาน 3.ฐานนิยม

1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหาได้จากการนำค่าของข้อมูลมาบวกกัน แล้วหารด้วยจำนวนข้อมูล 2. มัธยฐาน มัธยฐานคือค่าของข้อมูลที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูล เมื่อนำข้อมูลมาเรียงจากน้อยไปหามาก 3. ฐานนิยม ฐานนิยมคือข้อมูลตัวที่มีค่าซ้ำกันมากที่สุด