Number Representations

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Advertisements

ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Data representation (การแทนข้อมูล)
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
BIT & STRING OPERATIONS
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
Introduction to Digital System
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
ระบบจำนวน (Number System)
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
Functional components of a computer
ASSIGN3-4. InstructionResult Z-FlagC-FlagP-FlagS-FlagO-Flag MOV AL,9Eh 9Eh H ????? ADDAL,9Eh 3C ADD AL,1Eh 5A
ความหมายของตัวเลขในหลักต่าง ๆ
DATA (in binary Digits)
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
Computer Coding & Number Systems
ระบบเลขฐาน (Radix Number)
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
อาจารย์สายสุนีย์ เจริญสุข
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
CS Assembly Language Programming
Computer Programming for Engineers
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
ระบบเลขฐาน.
หน่วยที่ 2 ระบบตัวเลข.
A QUICK OVERVIEW OF PDP-8 ARCHITECTURE
Chapter 4 Cache Memory Computer Memory System Overview
รหัสคอมพิวเตอร์.
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
Chapter 11 Instruction Sets: Addressing Modes
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
CHAPTER 2 Operators.
คุณลักษณะของคำสั่งภาษาเครื่อง ชนิดของตัวถูกดำเนินการ
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
ระบบเลขฐาน.
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Number Representations Lecture 2 Number Representations

Number Representations Decimal 8547 = 8*103 + 5*102 + 4*101 + 7*100 Common form V(D) = dn-1*10n-1 + dn-2*10n-2 + … + d0*100 Binary V(B) = bn-1*2n-1 + bn-2*2n-2 + … + b0*20

Number Representations Binary to Decimal (1101)2 = 1*23 + 1*22 + 0*21 + 1*20 = 8 + 4 + 0 + 1 = 13 Decimal to Binary 2 13 LSB LSB 2 6 1 Computer can understand o and 1 only 13 = (1101)2 2 3 MSB 2 1 1 1 MSB

Number Representations Octal (เลขฐาน 8) มีตัวเลขที่มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 7 กลุ่มของ Octal digit จะแสดงโดยใช้จำนวนบิต 3 bits การแปลง Binary number ให้เป็น Octal number ทำโดยการแบ่งกลุ่มของ Binary number ทีละ 3 บิต โดยให้เริ่มที่ฝั่ง LSB (least significant bit) Example (101011010111)2 = 101 011 010 111 = (5327)8

Number Representations Hexadecimal (เลขฐาน 16) ตัวเลขมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 9 และ ตัวอักษรตั้งแต่ A ถึง F กลุ่มของ Hexadecimal จะแสดงโดยใช้จำนวนบิต 4 bits การแปลง Binary number ให้เป็น Hexadecimal ทำโดยการแบ่งกลุ่มของ Binary number ทีละ 4 บิต โดยให้เริ่มที่ฝั่ง LSB (least significant bit) Example (AF25)16 = (1010 1111 0010 0101)2 ทำไมต้องใช้ Octal และ Hexadecimal เนื่องจากเป็นทางลัดในการอ้างถึง Binary (shorthand notation) Why we use decimal because human know decimal. Octal and hexadecimal use for

Sign-and-magnitude Sign-and-magnitude คือ Binary number ที่มีลักษณะในการบ่งบอกค่าบวกและลบเหมือนกับ Decimal number ใช้ extra bit สำหรับการบ่งบอกว่าเป็นค่าบวกหรือลบ Extra bit จะอยู่ที่ตำแหน่ง MSB เพื่อเป็นตัวบ่งบอกว่าเป็นบวกหรือลบ MSB = 0 ; number is positive MSB = 1 ; number is negative Example 0101 = +5 1101 = -5 Extra bit

1’s complement 1’s complement ค่าที่เป็น negative หรือค่าลบสามารถทำได้โดย complement แต่ละบิตรวมทั้ง bit ที่เป็น MSB ด้วย Example 0101 = +5 1010 = -5

2’s complement 2’s complement ค่าที่เป็น negative หรือค่าลบสามารถแสดงได้โดยการบวก 1 ให้กับ 1’s complement Example 0101 = +5 1’s complement = 1010 2’s complement = 1010 + 1 1011 = -5

Sign-and-magnitude เป็นการแสดงตัวเลขแบบง่าย แต่ไม่ได้ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบันเนื่องจาก เช่นเมื่อเราต้องการบวกตัวเลข 2 ตัวที่มีค่าเป็น opposite sign เช่น +5 กับ -2 จะต้องทำการหาก่อนว่าตัวไหนเป็นตัวที่มากกว่า และตัวไหนมีค่าน้อยกว่า จำเป็นต้องมี extra logic circuit เพื่อที่จะหาการเปรียบเทียบค่าระหว่างตัวเลข 2 ตัวก่อน

1’s complement 1’s complement สามารถคำนวณตัวเลขสองตัวได้โดยไม่ต้องผ่าน comparing circuit Example 5 + 0101 + -2 1101 3 10010 1 0011 ต้องนำ carry bit บวกเข้าไปกับผลลัพธ์อีกครั้งหนึ่ง 1’s complement Carry bit

2’s complement ผลลัพธ์ที่ได้จากการทำ 2’s complement ไม่ต้องมี comparing circuit และไม่ต้องมีการนำ carry bit มาบวกเข้าอีกทีหนึ่ง Example 5 + 0101 + -2 1110 3 10011 ignore ดังนั้น 0011 = 3

Arithmetic Overflow Arithmetic overflow จะเกิดขึ้นเมื่อมีการบวกหรือลบตัวเลข แล้วเกิดผลลัพธ์ขึ้นมาแล้วทำให้มี bit เกินมาจากผลลัพธ์ เราเรียกว่า overflow ภายใน Processor มีวงจรในการตรวจจับ Overflow โดย Overflow = Cn-1  Cn (C คือ carry bit ที่เกิดขึ้นจากการคำนวณ) ยกตัวอย่างการ overflow เช่น 5+5 = 101+101 = 10 = 1010 ซึ่งจะมี bit เกินมาอีกหนึ่งบิตเราเรียกว่า overflow

Arithmetic Overflow Example 7 + 0 1 1 1 + 2 0 0 1 0 9 1 0 0 1 7 + 0 1 1 1 + 2 0 0 1 0 9 1 0 0 1 c4 c3 c2 c1 C3 = 1 C4 = 0 C3  C4 = 1 Overflow occurs

Arithmetic Overflow Example -7 + 1 0 0 1 + 2 0 0 1 0 -5 1 0 1 1 -7 + 1 0 0 1 + 2 0 0 1 0 -5 1 0 1 1 c4 c3 c2 c1 C3 = 0 C4 = 0 When the number you add is to big to fit C3  C4 = 0 No Overflow

Memory locations & addresses Memory ประกอบด้วย set ของ storage cell ซึ่งแต่ละ cell จะเก็บข้อมูลได้ 1 bit, กลุ่มของ bit เมื่อนำมารวมกันเพื่อทำการประมวลผลเราจะเรียกว่า word ซึ่ง word เป็นหน่วยที่ใช้ในการเข้าถึงและเก็บข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลที่เป็น word จำเป็นจะต้องอ้างถึง address(ที่อยู่) โดยปกติ Memory address จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 2k-1 , 2k คือ Address size space Example 32 bit address = 232 = 4,294,967,296 ประมาณ 4 gig Cell is transistor technology, cmos

Memory locations & addresses 32 bit is 4 bytes

Memory locations & addresses (a) A signed integer (b) Four characters Example of encoded information in a 32-bit word

Memory locations & addresses 1 byte = 8 bits 1 word = 16 to 64 bits, โดยทั่วไปจะเป็น 32 bits ส่วนใหญ่จะใช้ byte-addressable เข้าถึง address ใน Memory, ทุก ๆ byte ใน 1 word จะถูกเก็บต่อ ๆ กันใน Memory address space ถ้าใน 1 word มี 4 byte การไล่ตำแหน่งของ word ลำดับต่อไปก็จะเป็น 0, 4, 8 ,16, ……

Big endian & Little endian (a) Big-endian assignment (b) Little-endian assignment

Big endian & Little endian Big-endian : lower byte address จะอยู่ทางซ้ายมือ หรือ most significant byte (left most of the word) Little-endian : higher byte address จะอยู่ทางซ้ายมือ หรือ most significant byte

Memory Operations Load Store Read or fetch data from a memory to a processor Store Write data from processor back to a memory Next is instruction format , instruction sequencing in assembly language