แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน แผนการดำเนินงาน ปี 57 กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สำนักโรคติดต่อทั่วไป

เป้าหมายโรค 2557 ลดอัตราป่วยของโรค กวาดล้างโรคโปลิโอ กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด (1/พันเด็กเกิดมีชีพรายอำเภอ) กำจัดโรคหัด (20/ประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีแสนคน) ลดอัตราป่วยของโรค HBV พาหะในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี < ร้อยละ 0.25 คอตีบ < 0.01 ต่อแสนคน (7 ราย) ไอกรน < 0.01 ต่อแสนคน (7 ราย) JE < 0.1 ต่อแสนคน (70 ราย) 2

ตัวชี้วัด ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95) ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน BCG ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP-HB3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แหล่งข้อมูล: ฐานข้อมูล 21/43 แฟ้ม ฐานข้อมูล Data center ของจังหวัด หรือ ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กของสถานบริการ

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

การเร่งรัด/คงรักษาระดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด  สภาพการดำเนินงานในพื้นที่  ระบุพื้นที่ที่เป็นปัญหา  หาวิธีเร่งรัดความครอบคลุมการได้รับวัคซีน  ระบบการรายงานของจังหวัด  แหล่งที่มาของข้อมูล  สภาพปัญหา  ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาทางแก้ไข  ประสานขอรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่เชื่อถือได้จาก จังหวัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์สภาพปัญหาและประเมินความครอบคลุมในภาพรวมของจังหวัด

กรอบการสำรวจการได้รับวัคซีนในพื้นที่เสี่ยง สคร.สำรวจการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยงทุกจังหวัด ครั้งที่ 1 สำนัก ต. สุ่มสำรวจ พ.ค.- มิ.ย.57 สคร.สุ่มสำรวจ ครั้งที่ 2 พ.ย.- ธ.ค. 56 พ.ค.- มิ.ย.57 รายงานผู้ตรวจเขต/สสจ. เพื่อรับทราบและแก้ไขปัญหา โดย สคร.ร่วมสนับสนุนวางแผน ผู้ตรวจเขต/สสจ. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ม.ค. - เม.ย. 57 ธ.ค. 56

รายงานความก้าวหน้า ผลเบื้องต้นการสำรวจการได้รับวัคซีนในกลุ่มเสี่ยง  สำนักโรคติดต่อทั่วไปได้รับรายงานจากสคร. 12 แห่ง  สุ่มสำรวจจังหวัดแล้วเสร็จ 76 จังหวัด  เด็กกลุ่มเป้าหมายอายุ 1- 6 ปี 2,394 คน

ผลร้อยละความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ปี 2556 วัคซีน การสำรวจเด็กกลุ่มเสี่ยง การสำรวจความครอบคลุมเฉลี่ย (ต่ำสุด-สูงสุด) ในเด็กไทย BCG 97.0 (50.0-100) 100 DTP-HB3/OPV3 89.9 (17.7-100) 99.4 MMR 88.1 (14.7-100) 98.7 JE2 82.5 (0-100) 96.1 JE3 81.7 (0-100) 91.9 DTP4/OPV4 79.6 (0-100) 97.8 DTP5 /OPV5 74.1 (0-100) 90.3 แหล่งที่มา : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 -12 และ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค 9

จำนวนจังหวัดที่สำรวจจำแนกตามลักษณะกลุ่มเสี่ยง ลำดับ ลักษณะกลุ่มเสี่ยง จำนวนจังหวัด ร้อยละ 1 ชุมชนพื้นที่ทุรกันดาร ห่างไกล พื้นที่สูง ชนเผ่า และพื้นที่ชายแดน 21 27.3 2 แรงงานเคลื่อนย้ายทั้งชาวไทยและต่างด้าว 14 18.2 3 แรงงานเคลื่อนย้ายชาวต่างด้าว 10 13.0 4 สำรวจมากกว่า 1 กลุ่ม เนื่องจากมีเด็ก < 30 ราย ในแต่ละชุมชน 9 11.7 5 ชุมชนแออัด 8 10.4 6 ชุมชน ที่คาดว่า ความครอบคลุมวัคซีนต่ำ 6.5 7 ชุมชนที่มีโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 5.2 แรงงานเคลื่อนย้ายชาวไทย 3.9 ชุมชนในพื้นที่ไม่สงบ รวมทั้งหมด 77 100

สาเหตุที่เด็กไม่ได้รับวัคซีน สาเหตุที่ไม่ได้รับวัคซีน ลำดับ สาเหตุที่ไม่ได้รับวัคซีน จำนวนราย ร้อยละ 1 ไม่ว่าง ไม่มีเวลาพาไป 112 23.0 2 จำวันฉีดไม่ได้, พ้นกำหนดฉีดแล้วจึงไม่พาเด็กไป 68 14.0 3 เด็กไม่สบาย จึงไม่พาไปฉีด 45 9.3 4 เจ้าหน้าที่ไม่ได้นัด ต่างด้าว (30) ไทย (12) 42 8.7 5 กลัวเด็กไม่สบาย 39 8.0 6 ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน 7 มีการเคลื่อนย้ายเข้าออกระหว่างประเทศ 36 7.4 8 ไม่ทราบว่าเด็กต้องได้รับวัคซีน 29 6.0 9 สถานบริการอยู่ไกลบ้าน 18 3.7 10 ไม่มีเงินค่าพาหนะ 11 2.3 สาเหตุอื่นๆ 25 5.1 12 ไม่ระบุสาเหตุ 22 4.5 รวม 486 100 สาเหตุอื่นๆ (ย้ายที่ทำงาน, คนดูแลไม่รู้ว่าต้องพาไปที่ไหน, นึกว่าได้ครบแล้ว, ไม่มีคนพาไป, มาช้ากว่ากำหนดเข็มต่อไปเลยช้า, เข้าใจว่าต้องไปรับที่เดิม, เจ้าหน้าที่นัดวันผิด, บิดาเป็นอเมริกันไม่ยอมให้ฉีด, คลอดที่บ้าน, ไม่ได้รับวัคซีนตอนแรกเกิด, วัคซีนขาด, เจ้าหน้าที่บอกเป็นเด็กนอกเขตเลยไม่ให้บริการ)

การเร่งรัด/คงรักษาระดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด  สภาพการดำเนินงานในพื้นที่  ระบุพื้นที่ที่เป็นปัญหา  หาวิธีเร่งรัดความครอบคลุมการได้รับวัคซีน  ระบบการรายงานของจังหวัด  แหล่งที่มาของข้อมูล  สภาพปัญหา  ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาทางแก้ไข  ประสานขอรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนที่เชื่อถือได้จาก จังหวัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์สภาพปัญหาและประเมินความครอบคลุมในภาพรวมของจังหวัด

การติดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมวัคซีนในการบรรลุเป้าหมายเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย กลุ่มเป้าหมาย 1.1 ร้อยละของเด็กครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ยกเว้น MMR ร้อยละ 95) 1.2 ร้อยละของเด็กครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (JE2/DTP4/ OPV4) 1.3 ร้อยละของเด็กครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (JE3) 1.4 ร้อยละของเด็กครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (DTP5/ OPV5) แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูล 21/43 แฟ้มหรือ Data center ของจังหวัด หรือ ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนของเด็กในพื้นที่รับผิดชอบของสถานบริการ ระยะเวลาประเมินผล ทุก 6 เดือน โดย ทีมผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข และกรมควบคุมโรค

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

สภาพปัญหาในการให้บริการวัคซีนในโรงเรียน ผู้ปกครองไม่อนุญาตให้เด็กฉีดวัคซีนเพราะเข้าใจว่ารับครบ เด็กบางส่วนได้รับวัคซีนช่วงก่อนวัยเรียนไม่ครบถ้วน ผู้ปกครองไม่เก็บประวัติ การได้รับวัคซีนทำให้จนท. ไม่สามารถติดตามให้วัคซีนได้อย่างเหมาะสม มีโรค EPI ระบาดในนักเรียน 1 ใน 3 เป็นโรคคอตีบ 1 ใน 5 เป็นหัด

การดำเนินการในส่วนกลาง  ประชุมหารือร่วมกับผู้บริหาร สพฐ. เสนอแนวทางการใช้ สมุดบันทึกสุขภาพเป็นหลักฐานในการรับเข้าเรียน - ป. 1 - ม. 1  สพฐ. มีหนังสือแจ้ง สพฐ เขต ทุกเขต พร้อมแนวทางแล้ว  กระทรวงสาธารณสุขมีหนังสือแจ้ง สสจ. พร้อมแนวทางและบัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป.6 ภายในเดือน ม.ค. 57 เริ่มปีการศึกษา 2557

เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 รร. แจ้งผู้ปกครองให้สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กใน สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก พร้อมเขียนชื่อเด็กกำกับ มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก สถานบริการติดตามให้วัคซีนแก่เด็กที่รับวัคซีนไม่ครบให้ครบถ้วน รวมถึงให้ MMR แก่เด็กชั้น ป. 1 และบันทึกในสำเนาประวัติการรับ วัคซีนของเด็กแผ่นเดิมเก็บไว้ที่ รร.

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 (ต่อ) สถานบริการติดตามให้ dT แก่เด็กชั้น ป. 6 และ บันทึกในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิม รร.มอบใบสำเนาประวัติการรับวัคซีนแก่เด็กคืนให้ ผู้ปกครองก่อนจบ ป.6 เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐานใน การศึกษาต่อชั้น ม. 1

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 6 สถานบริการขอรายชื่อเด็กชั้น ป. 6 ที่กำลังจะจบการศึกษา สถานบริการบันทึกการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป. 1 และ dT ป. 6 ใน “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนสำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6”  หากไม่สามารถหาข้อมูลได้ ขอให้สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง :-  เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการวัคซีนนักเรียนในอดีต  ผู้ปกครองเด็ก หรือครู เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด นำ “บัตรรับรอง ฯ” ที่บันทึกการได้รับวัคซีนตาม ข้อ ให้ รร. เพื่อมอบให้ผู้ปกครองก่อนเด็กจบ เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐาน เมื่อเข้า ม. 1 2

บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ม. 1 รร. แจ้งผู้ปกครองให้นำ “บัตรรับรองฯ” มอบให้ รร.เมื่อเข้าเรียน สถานบริการประสานขอหลักฐานประวัติการรับวัคซีนของเด็กแต่ละราย ตามข้อ เพื่อติดตามให้ MMR หรือ dT แก่เด็กที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบ บันทึกวันที่ให้วัคซีน ลงใน “บัตรรับรองฯ” หรือ สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กและให้เด็กเก็บไว้เพื่อเป็นข้อมูลประจำตัว 1

ประเด็นขอความร่วมมือสสจ.  ประสานการดำเนินงานกับ สพฐ. เขตทุกเขต เพื่อเริ่มใช้ ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็กเข้าเรียน ชั้น ป.1 และชั้น ม.1 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2557  แจ้งหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องและสถานบริการ ที่มีโรงเรียนสังกัดสพฐ. ได้ปฏิบัติตามแนวทางของกระทรวงฯ

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สคร.  ประชุมชี้แจงเดือนมกราคม 2557  จำนวนจังหวัดอย่างน้อยครึ่งหนึ่งของจำนวนจังหวัดทั้งหมดในเขต  จังหวัดละ 2 อำเภอ  คลังวัคซีนโรงพยาบาล 1 แห่ง  หน่วยบริการในรพ. 1 แห่ง  หน่วยบริการในรพสต. 1 แห่ง  งบประมาณสนับสนุน 12,000 บาทต่อจังหวัด (ขณะนี้แจ้งโอนแล้ว ขอให้สคร. ตอบกลับด้วย)

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอ 1. มาตรการด้านการให้วัคซีน  การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามระบบปกติ โดยตรวจสอบและติดตามกลุ่มเป้าหมายให้ได้รับวัคซีนให้ครบถ้วน  รณรงค์ให้วัคซีนเสริมในพื้นที่เสี่ยง (Supplementary Immunization Activity : SIA) 2. มาตรการด้านการเฝ้าระวังโรค  เร่งรัดให้ทุกจังหวัดเฝ้าระวังผู้ป่วย AFP ให้ตามเกณฑ์อย่างน้อย 2 ต่อแสนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี  ติดตามการเก็บตัวอย่างอุจจาระในผู้ป่วย AFP ให้ได้ตามเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 80 (เพื่อยืนยันการปลอดเชื้อโปลิโอ)

การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอประจำปี 2556-57 ข้อพิจารณา ให้ สสจ.เป็นผู้กำหนดพื้นที่และช่วงเวลาการรณรงค์ (ม.ค. – เม.ย. 57) การกำหนดพื้นที่และกลุ่มอายุให้อิงตามเกณฑ์เดิม ปรับระยะห่างการรณรงค์ในแต่ละพื้นที่เป็น 2 ปี / ครั้ง ทำการรณรงค์ในลักษณะ SIA โดยแนะนำให้รณรงค์วัคซีนหลายชนิดในคราวเดียวกัน

เกณฑ์การกำหนดพื้นที่และกลุ่มอายุ เด็กที่อยู่ในพื้นที่พิเศษ มีความยากลำบากในการให้บริการวัคซีน มีประชากรเคลื่อนย้ายสูง เด็กที่อยู่ในพื้นที่ติดชายแดนพม่า หรือ ในพื้นที่มีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ซึ่งการบริการวัคซีนปกติไม่สามารถดำเนินการได้ พื้นที่มีเหตุให้สงสัยว่าความครอบคลุมวัคซีนโปลิโอต่ำกว่าเกณฑ์ (เช่น case AFP อายุ 12-60 เดือนไม่ได้รับวัคซีน OPV3, พื้นที่มีรายงานโรคคอตีบหรือหัดในเด็ก) และไม่อาจแก้ไขได้ด้วยการบริการวัคซีนตามระบบปกติ *Priority : พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาในการควบคุม หากพบผู้ป่วยโปลิโอ

มาตรการและค่าเป้าหมายในการกำจัดโรคหัด สัดส่วนผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ที่ได้รับการเก็บตัวอย่าง ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มที่ 1 และ 2 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ด้านการ เฝ้าระวังโรค ด้านผลลัพธ์ 1 ด้านการป้องกันควบคุมโรค 2 3 อัตราป่วยโรคหัดในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ต้องไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน ใน ปี 2557

ความเป็นมา หัดเป็นโรคที่แพร่กระจายได้ง่าย มีอาการแทรกซ้อนรุนแรงในเด็กเล็ก ปัจจุบันผู้ป่วยหัด ร้อยละ 40 อายุระหว่าง 9 เดือนถึง 7 ปี สาเหตุเนื่องจากระดับภูมิคุ้มกันที่ยังคงต่ำในเด็กกลุ่มนี้ ส่วนหนึ่งเกิดการกำหนดตารางวัคซีน MMR2 ในอดีต ซึ่งทิ้งช่วงห่างถึง 7 ปี (เข็มหนึ่ง 9 เดือน เข็มสอง 7 ปี) ซึ่งตามธรรมชาติเด็กเล็กประมาณ 1 ใน 5 จะไม่สร้าง immunity หลังได้รับวัคซีน MMR1 สัดส่วนผู้ป่วยหัดปี 2555 ก่อนวัยเรียน 0-7 ปี 44% ประถม-มัธยม 8-15 ปี 19% อุดมศึกษา 16-20 ปี 12% ทำงาน 21+ ปี 26%

การให้วัคซีนหัด ปัจจุบัน อายุ มกราคม 2557 ? อายุ 7 ปี เข็มที่ 2 9 – 12 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี เข็มที่ 2 มกราคม 2557 ? อายุ 7 ปี 9 – 12 เดือน เข็มที่ 1 2 ½ ปี เข็มที่ 2 เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก

มาตรการสำคัญ ปี 2557 การให้วัคซีนในกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ : EPI ให้ครอบคลุม มีคุณภาพ ตรวจสอบได้ : วัคซีนเสริมในกลุ่มเป้าหมาย (เด็กก่อนวัยเรียน) : วัคซีนในการควบคุมโรคไม่ให้ระบาดเฉพาะจุด

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

ให้วัคซีนเสริมประมาณ 3 ล้านคน การให้วัคซีนหัด ปัจจุบัน อายุ 9 – 12 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี เข็มที่ 2 มกราคม 2557 ? GAP อายุ 7 ปี 9 – 12 เดือน เข็มที่ 1 2 ½ ปี เข็มที่ 2 ให้วัคซีนเสริมประมาณ 3 ล้านคน

อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของ การได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ. 2520-2556 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค อัตราป่วย ความครอบคลุม

จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบ ในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 กลุ่มอายุ (ปี) จำนวน ( N=48) ร้อยละ 0-5 5 10.4 6-15 16 33.3 16-25 26 ปีขึ้นไป 22 45.8 รวม 48 100 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย ช่องว่างแห่งภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือ ได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 %

ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556 จังหวัด ป่วย เสียชีวิต อายุ เดือนที่ป่วย ปัตตานี 3 2 < 15 ปี ม.ค.-ส.ค. สงขลา 4 ม.ค.-ก.ค. นราธิวาส 1 ก.พ.-พ.ค. ตาก มิ.ย. ยโสธร > 15 ปี มิ.ย.-ก.ย. อุดรธานี ก.ค.-ส.ค. กทม. ส.ค. , ธ.ค. สตูล ก.ย. เชียงใหม่ ยะลา ต.ค. รวม 21 7 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ม.ค. 57

โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในวโรกาสเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา เพื่อปกป้องคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 มิ.ย. 57 ปีงบ 58 จัดทำกรอบการดำเนินงาน () ประชุมหารือ ภายในกรม () หารือ สปสช. (28 ม.ค.57) จัดประชุมชี้แจงจังหวัดนำร่อง สนับสนุน การรณรงค์ฯ /การดำเนินงาน เริ่มรณรงค์ dT มุกดาหาร (~0.19 ล้านโด๊ส) กรุงเทพฯ (~ 2.8 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 56 จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) รณรงค์วัคซีน MMR/MR เด็ก 3-6 ปี ทั่วประเทศ (~3.5 ล้านโด๊ส)

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ ประเด็นขอความร่วมมือ  สคร. 1-12 เข้าประชุมซักซ้อมการดำเนินงาน  สคร. แต่ละแห่งคัดเลือกจังหวัด 1-2 จังหวัด  สคร. ประสาน สสจ.และ รพ. ที่ดำเนินการ  ติดตามการจัดเก็บตัวอย่างเลือดและข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง สถานที่เก็บ specimen ข้อมูลประวัติการได้รับวัคซีนของกลุ่มตัวอย่าง  สำนัก ต. จัดสรรงบประมาณให้

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 1. การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด 2. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน 3. การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด 5. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ปี 2557-2558 การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ 7. การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ 8. การติดตามโครงการนำร่องวัคซีน Rota และ JE เชื้อเป็น

การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่  โครงการใหม่  HPV vaccine ในจังหวัด อยุธยา  สคร. 1  โครงการต่อเนื่อง  Rota vaccine ในจังหวัดสุโขทัย  สคร. 9  JE เชื้อเป็นใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน สคร. 10

สรุปประเด็นขอความร่วมมือ @ ติดตามควาวมก้าวหน้าการดำเนินการเร่งรัดความครอบคลุมการได้รับ วัคซีนในกลุ่มเสี่ยงทุกเดือน @ ประสานขอข้อมูลความครอบคลุมวัคซีนครบชุดทุกชนิดของจังหวัด ครั้งที่ 1 : ไตรมาส 1+2 (ต.ค. 56 – มี.ค. 57)  ส่งภายใน 15 เม.ย. 57 ครั้งที่ 2 : ไตรมาส 3+4 (เม.ย. – ก.ย. 57)  ส่งภายใน 15 ต.ค. 57 @ ประสานจังหวัดเรื่องการขอความร่วมมือจาก สพฐ. เขต ได้ประสานโรงเรียน ให้จัดเก็บประวัติการได้รับวัคซีนของเด็ก เมื่อเข้าเรียน ป.1 และ ม.1 @ คัดเลือกจังหวัดที่เข้าร่วมโครงการสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ  ประสาน สสจ. และ รพ. ที่ดำเนินการ @ สุ่มประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  31 ก.ค. 57

ขอบคุณค่ะ