การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี 2556-2560 การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี 2556-2560 นพ.กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง ผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์

กรอบการนำเสนอ ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่น อายุ 15-19 ปี ร่าง พ.ร.บ.ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ พ.ศ. .... อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ การประเมินรับรอง ร.พ. ตามมาตรฐานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน นโยบายควบคุมและป้องกันมะเร็งปากมดลูก

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่น อายุ 15-19 ปี (SRM) ภายในปี พ.ศ.2556 - 2560 (5 ปี) วัยรุ่นมีความสามารถในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ (อัตราการคลอดลดลง) วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ เข้าใจ และมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่ปลอดภัย ส่งเสริมกิจกรรมสร้างคุณค่าทางเพศ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะอนามัยการเจริญพันธุ์ สร้างค่านิยมทางเพศที่ปลอดภัยและเหมาะสม กับวัย ครอบครัวมีความรู้และเข้าใจอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน พัฒนาและเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและให้คำปรึกษาเรื่อง เพศในครอบครัว สร้างแบบอย่างในครอบครัวที่ดีเรื่องอนามัย การเจริญพันธุ์ สร้างเครือข่ายครอบครัว ชุมชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน กลุ่มภาคี และเครือข่าย สนับสนุนการจัดทำแผนงานและโครงการพัฒนาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน สร้างพื้นที่เชิงบวกและส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชม สร้างระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่นและเยาวชน ระดับประชาชน สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ ขยายสถานศึกษาต้นแบบ พัฒนากระบวนการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพ สร้างภาคีและเครือข่าย ในการทำงาน ผลักดันให้ภาคีและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามการดำเนินงาน สธ. สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน สนับสนุนการทำงานร่วมกับ ภาคีและเครือข่าย พัฒนาศักยภาพบุคลากร ภาคี และเครือข่ายให้มีทัศนคติและ ให้บริการตามมาตรฐาน ส่งเสริมให้สถานบริการดำเนิน การตามบริบท อปท/แกนนำเครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วมและสนับสนุน สนับสนุนให้มีแผนพัฒนา วัยรุ่นและเยาวชนแบบ บูรณาการ สนับสนุนทรัพยากรอย่าง พอเพียงและต่อเนื่อง สนับสนุนให้มีและใช้ มาตรการทางสังคม พม./หน่วยงานรัฐ/เอกชน/เครือข่ายท้องถิ่น บรูณาการฯ เป็นศูนย์ประสานเครือข่าย สนับสนุนให้เกิดโครงการ เป็นรูปธรรม สร้างรูปแบบการติดตาม อย่างมีส่วนร่วม เครือข่ายวัยรุ่นและเยาวชนมีส่วนร่วมและเป็นผู้ขับเคลื่อนงาน พัฒนาศักยภาพวัยรุ่นและ เยาวชน สร้างกระแสชี้นำสังคมในเรื่อง พฤติกรรมแบบอย่างที่ดี ส่งเสริมสนับสนุนวัยรุ่นและ เยาวชนดีเด่นเพื่อเป็นแบบอย่าง ในสังคม ระดับภาคี มีระบบติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบติดตาม และประเมินผล ผลักดันให้ข้อเสนอเพื่อ การแก้ไขไปสู่การ ปฏิบัติจริง มีระบบบริหารภาคีและเครือข่าย สร้างการมีส่วนร่วม (อำเภอ RH) สร้างหน่วยงานเจ้าภาพ หลัก แสวงหาความต้องการ พัฒนาศักยภาพภาคี และเครือข่าย มีระบบพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ (พ.ร.บ.) เร่งรัด ให้เกิดการเรียนรู้ และตระหนัก ถึงเรื่องสิทธิหน้าที่และกฎหมาย สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมาย สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการปรับปรุง กฎหมาย มีนวัตกรรมและองค์ ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรม พัฒนางานวิจัย มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางสื่อสาร สาธารณะ พัฒนาสื่อบุคคล เนื้อหา สื่อการเรียน การสอน ระดับกระบวนการ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วนทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยรุ่นและเยาวชนที่มีให้ครบถ้วน พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เข้าถึงได้ง่าย บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะ ที่เหมาะสม พัฒนาหลักสูตร พัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากร มีวัฒนธรรมองค์กร ส่งเสริมและพัฒนาแนวคิดและทัศนคติเชิงบวก เกี่ยวกับเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาการทำงานเป็นทีม สร้างแรงจูงใจ มีวัฒนธรรมองค์กร ส่งเสริมและพัฒนาแนวคิดและทัศนคติเชิงบวก เกี่ยวกับเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาการทำงานเป็นทีม สร้างแรงจูงใจ (ย6) ระดับ พื้นฐาน

ร่าง พระราชบัญญัติ ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ พ.ศ. .... 4

โครงสร้างร่างพระราชบัญญัติ ร่าง พระราชบัญญัติ ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๕ หมวด ๒ การให้บริการ มาตรา ๖ - ๑๔ หมวด ๓ คณะกรรมการส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ มาตรา ๑๕ – ๒๒ หมวด ๔ การส่งเสริม อนามัยการเจริญพันธุ์ มาตรา ๒๓ – ๓๐ หมวด ๕ บทเฉพาะกาล มาตรา ๓๑ บทนิยาม มาตรา ๑ - ๔ โครงสร้างร่างพระราชบัญญัติ

สาระสำคัญในพระราชบัญญัติส่งเสริมฯ หลักการให้บริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ต้องคำนึงถึงสิทธิของผู้รับบริการ - ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน - มีทางเลือกในการรับบริการโดยอิสระ - คำนึงถึงความเป็นส่วนตัว เก็บรักษาเป็นความลับ พัฒนาผู้ให้บริการ - ให้มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการและการ ปรึกษาเกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ อย่างต่อเนื่อง

สาระสำคัญในพระราชบัญญัติส่งเสริมฯ จัดให้มีบริการและการปรึกษาเกี่ยวกับอนามัย การเจริญพันธุ์ และระบบการส่งต่ออย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน จัดให้มีการเรียนการสอนด้านอนามัยการเจริญพันธุ์และเพศศึกษาเหมาะสมกับวุฒิภาวะและวัยของผู้เรียน ให้โอกาสทางการศึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ระหว่างศึกษา

สาระสำคัญในพระราชบัญญัติส่งเสริมฯ (ต่อ) จัดระบบการดูแล ช่วยเหลือ และระบบการส่งต่อที่มีคุณภาพสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองหรือเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ ต้องไม่ขัดขวางการตั้งครรภ์ การลาคลอด และส่งเสริมให้หญิงซึ่งเป็นมารดาได้เลี้ยงดูบุตรด้วยน้ำนมมารดาอย่างต่อเนื่อง การกระทำใดที่เป็นอันขัดขวางการเข้าถึงการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม จะกระทำไม่ได้

อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ “อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์” อำเภอที่ดำเนินงาน เพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน บูรณาการและเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กร - สถานบริการสาธารณสุข - สถานศึกษา - ครอบครัว และชุมชน

อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข อปท. * มีการสอนเพศศึกษา รอบด้าน หรือหลักสูตรใกล้เคียง * จัดกิจกรรมการเรียนรู้ * มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน * รพช.มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน * รพ.สต. มีข้อมูล แผนงาน และกิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ * รพ. มีระบบการดูแล/ส่งต่อ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและเยาวชน * มีแผนและดำเนินการ ตามแผน * สนับสนุนทรัพยากร * มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ * การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ชุมชน ครอบครัวได้รับการอบรมความรู้เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ผลผลิต อำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ผลลัพธ์ * วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม * การคลอดในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง * การป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง

เกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 1. อำเภอ * คณะกรรมการ/คณะทำงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ * แผนและการดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ * ฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ * การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น * สนับสนุนทรัพยากรดำเนินงาน 3. ครอบครัว/ชุมชน * จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ สำหรับครอบครัว 4. สถานศึกษา * กิจกรรมด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ 5. สถานบริการสาธารณสุข

YFHS ก้าวย่างอย่างยั่งยืน สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์

การจัดอบรมหลักสูตร Advanced แนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนาต่อยอดและพัฒนางานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ การพิจารณาตัดสินโรงพยาบาลตามมาตรฐานYFHS การจัดอบรมหลักสูตร Advanced การทดลองใช้ในพื้นที่นำร่องใน รพ.ในเขตรับผิดชอบทั้ง ๑๒ ศูนย์ โดยส่วนกลาง ศูนย์อนามัยและ สคร. เป้าหมายในปี ๒๕๕๖ คือ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมินฯร้อยละ ๕๐ การเยี่ยมสำรวจและประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐานYFHS โดยคณะกรรมการส่วนกลาง (จะมีการแต่งตั้งในปีงบประมาณ ๕๖ มี ผอ.ศูนย์และ ผู้ประเมินYFHSร่วมเป็นกรรมการ) เนื้อหาหลักสูตร -การให้การปรึกษาทางโทรศัพท์ -การคุมกำเนิดที่เหมาะสมกับวัยรุ่น -การจัดบริการคลินิกวัยรุ่นเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทั้งเชิงรับและเชิงรุก การจัดทำ แนวทาง การดูแลแม่วัยรุ่น(UNFPA) การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานคลินิกวัยรุ่น

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย พ.ศ. 2556 - 2560 ค่าเป้าหมาย พ.ศ. 2556 - 2560 2556 2557 2558 2559 2560 อัตราการคลอดบุตรของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน ลดลงร้อยละ -จำนวนอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ -ร้อยละ ของ ร.พ. ผ่านการรับรองมาตรฐาน YFHS 10 175 (20%) 50 440 (50%) 80 132(15%) 100 131(15 %) ติดตาม สถานการณ์ปัจจุบัน อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน ปี พ.ศ. หญิงคลอด 15-19 ปี หญิงอายุ 15-19 ปี ทั้งหมด อัตรา : 1,000 2554 130,047 2,367,243 54.9

การควบคุมและป้องกันมะเร็งปากมดลูก นโยบาย การควบคุมและป้องกันมะเร็งปากมดลูก

หลักการสำคัญของการป้องกันและควบคุม มะเร็งปากมดลูก(ระยะก่อนเป็นมะเร็ง) ต้องตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมมากพอ ผู้ที่มีผลการคัดกรองผิดปกติต้องได้รับการรักษา การรักษานั้นต้องมีประสิทธิผลสูง

การป้องกันมะเร็งปากมดลูก ขั้นปฐมภูมิ - หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ - การใช้ condom - การใช้วัคซีน ขั้นทุติยภูมิ - การตรวจคัดกรอง และให้การรักษาในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ขั้นตติยภูมิ - การรักษาและการฟื้นฟูโรค

นโยบายการให้วัคซีน HPV ในประเทศไทย วัคซีนป้องกันได้ร้อยละ 70 ต้องควบคู่ไปกับการตรวจคัดกรอง กลุ่มเป้าหมายเด็กหญิงประถมศึกษาปีที่ 6 ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการ วัคซีนแห่งชาติ