โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
Advertisements

โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข วันที่ 30 กันยายน 2553.
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร
โปรแกรมประเมิน Carbon Footprint
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การนิเทศติดตาม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
โครงการสร้างสรรค์ “เมนูชูสุขภาพ”
สาธารณสุขร่วมใจลดภัยโลกร้อน ภายใต้แนวคิดของกรมอนามัย GREEN & CLEAN
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
เริ่มเข้าโครงการ Carbon Footprint เพราะอะไร?
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ศูนย์การเรียนรู้ลดโลกร้อน
โครงการ “ อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย :
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย
ผลการดำเนินงานสาธารณสุขชายแดนปี 2557
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2555

รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ โครงการสาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โลกร้อน (สถานการณ์) รพ./สถานบริการ สธ. (Setting Approach) การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ (Technology)

ลดการเกิด Gas เรือนกระจก Global Warming Gas เรือนกระจก ( CO2 : CH4 = 20: 1 ) ลดการเกิด Gas เรือนกระจก CH4 พลังงานทดแทน ของเสีย ใช้ประโยชน์

แนวคิดการจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนฯ น้ำเสีย การใช้ประโยชน์จากน้ำเสีย อุจจาระ พลังงาน- ปุ๋ย ปัสสาวะ ปุ๋ย ของเสีย ขยะเปียก พลังงาน-ปุ๋ย Sanitation Technology ขยะแห้ง การกลับมาใช้ใหม่ มูลสัตว์ พลังงาน- ปุ๋ย ขยะอันตราย กำจัดอย่างถูกวิธี

วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสุขดำเนินงานลดโลกร้อน ภายใต้ GREEN & CLEAN 2 เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นแบบอย่างการดำเนินการลดโลกร้อน 3 เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคลากรในเรื่องโลกร้อนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

พื้นที่เป้าหมาย สถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล

โรงพยาบาล/สถานีอนามัย เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กระจายอยู่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ได้รับความเชื่อถือจากคนในชุมชน

เป้าหมายกิจกรรม(Green) garbage การจัดการมูลฝอยและการใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล

rest room การจัดการส้วมให้ได้มาตรฐาน HAS

energy ประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน

environment การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและช่วยลดโลกร้อน

Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง

C L A E N Communication การสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความเข้าใจ Leader สร้างบทบาทนำ เพื่อเป็นตัวอย่างในการดำเนินงาน Effectiveness ให้บังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ Activity สร้างกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึกอย่างมีส่วนร่วม Networking ร่วมกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน กลยุทธ์หลัก Clean C L A E N

C : Communication

L : Leadership

E : Effectiveness

A : Activities

N : Networking

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน GREEN กิจกรรมสร้างจิตสำนึก เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยใช้ CF - Zero Waste - Zero Emission - Zero Carbon เริ่ม พัฒนา วิสัยทัศน์

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ปชช ร่วมลดโลกร้อน GREEN CLEAN HOSPITAL SuSan Strategy Setting ชุมชน อสม & Network ทำอะไร ทำอย่างไร ทำที่ไหน การขยายผล ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) ส่งเสริมให้ภาค สธ. แสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย GHG เน้นกิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับกิจกรรมอื่นๆ (ตามกิจกรรม GREEN) เป็นเครื่องมือในการลด GHG หาปริมาณ Carbon Footprint เพื่อใช้เป็นดัชนีชีวัดความสำเร็จและเป็นเครื่องมือการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน

เป้าหมายความสำเร็จ ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 โรงพยาบาล อำเภอละ 1 แห่ง สถานีอนามัย เข้าร่วมโครงการ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกแห่งเข้าร่วมโครงการ รพ.ลดโลกร้อนต้นแบบ จังหวัดละ 1 แห่ง โรงพยาบาล 84 แห่ง สถานีอนามัย 84 แห่ง เข้าร่วมโครงการ

เป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2555 โรงพยาบาลลดโลกร้อนต้นแบบ เข้าร่วมโครงการฯ และดำเนินกิจกรรมครบ “GREEN” โรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกแห่ง จำนวน 835 แห่ง รพ.สต. หรือ PCU หรือ สอ. ร้อยละ 35 จำนวน 3,419 แห่ง โรงพยาบาลลดโลกร้อนต้นแบบ จังหวัดละ 1 แห่ง

Carbon Footprint เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน คำนวณหาจำนวน CF กิจกรรมทั้งหมด เมื่อเริ่มโครงการฯ เพื่อกำหนดปีฐาน วิเคราะห์แหล่งกำเนิด GHG เพื่อหาทางลดการปล่อย GHG คำนวณหาจำนวน CF หลังจากการดำเนินงาน นำมาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีฐาน กำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีต่อไป

การรับรองเป็น ร.พ./สอ. ร่วมลดโลกร้อน สถานพยาบาลดำเนินกิจกรรม GREEN แจ้งศูนย์อนามัยประเมิน มอบป้ายลดโลกร้อน โดยศูนย์อนามัย

สวัสดี