คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 6
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 3
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 2
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนมกราคม 2549 โดย นายการุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
โครงสร้างฟอร์มการรายงานข้อมูล
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 8/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 9/2553
ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เกณฑ์>90%
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
มาตรการประหยัดพลังงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จ ของการดำเนินการ ตามมาตรการประหยัดพลังงาน

คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงาน หมายถึง การที่หน่วยงานสามารถ จัดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงภายในหน่วยงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้ไฟฟ้าและ น้ำมันเชื้อเพลิงลดลงได้ตามเกณฑ์การให้คะแนนที่ กำหนด หน่วยงานส่วนกลาง หมายถึง หน่วยงาน(สำนัก/กอง) ที่มีสำนักงานตั้งอยู่ในตัวอาคารกรมอนามัย ศูนย์พัฒนา อนามัยพื้นที่สูง กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุข ระหว่างประเทศ และ ศูนย์ห้องปฏิบัติการ กรมอนามัย หน่วยงานส่วนภูมิภาค หมายถึง ศูนย์อนามัยที่ 1-12

คำอธิบาย (ต่อ) การประหยัดพลังงาน พิจารณาจากการใช้พลังงาน 2 ชนิด ได้แก่ ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิง การประเมินผล พิจารณาจากความครบถ้วนของ ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ พลังงาน ข้อมูลการใช้พลังงานของหน่วยงาน ข้อมูล การติดตามกำกับการใช้พลังงานของหน่วยงาน และ ผลการประหยัดพลังงานตามเกณฑ์การให้คะแนน

สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน  สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index, EUI) = (90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้พลังงานจริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง

เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนน ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของปีงบประมาณ 2557 รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ตามรูปแบบที่ สนพ. กำหนด 10 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2557 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จ และครบถ้วน 12 เดือน 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานที่ใช้จริง ประจำปีงบประมาณ 2557 ครบถ้วน 12 เดือน 5 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้พลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2557 อยู่ในช่วง -0.200 ถึง -0.333 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้พลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2557 อยู่ในช่วง -0.091 ถึง -0.199 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2557 อยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090ในกรณีที่มากกว่า 0 ส่วนราชการจะได้คะแนนระดับที่ 3, 4 และ 5 รวมกัน เท่ากับ 30 คะแนน รวม 50

หมายเหตุ หน่วยงานจะต้องได้คะแนนเต็ม (เท่ากับ 20) ในระดับคะแนนที่ 2 จึงจะได้รับการประเมินผล ระดับคะแนนที่ 3,4 และ 5 กรณีที่ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ประจำปีงบประมาณ 2557 ตามสูตรการ คำนวณที่ สนพ. กำหนดมีค่าน้อยกว่า -0.333 หน่วยงานจะได้คะแนนระดับที่ 3,4 และ 5 รวมกัน เท่ากับ 0.000 คะแนน

หลักฐานอ้างอิง กำหนดให้สำนักงานเลขานุการกรม เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บ ประมวล วิเคราะห์ข้อมูล ทุกหน่วยงานรายงานข้อมูลการใช้พลังงาน ไฟฟ้าและน้ำมันไปยังสำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ผ่านทางเว็บไซต์ www.e-report.energy.go.th

Thank You